Page 26 - รายงานการใช้ข้อมูลสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษาความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่เสี่ยง Using of Remote Sensing Data for Soil Fertility Assessment in Areas at Risk of Acidic soil and Saline Soil of Central Thailand
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                           20






                                     - สารละลายที่ใช้เติมใน electrode ควรซื้อตามค าแนะน าของบริษัทที่ขาย electrod
                       เนื่องจากแต่ละยี่ห้อแต่รุ่นใช้สารละลายที่เติมไม่เหมือนกัน
                              ซึ่งการจัดระดับความรุนแรงของความเป็นกรดเป็นด่างของดินในน้ าแสดงในตารางที่ 7

                       ตารางที่ 7 การจัดระดับความรุนแรงของความเป็นกรดเป็นด่างของดินในน้ า

                                               ระดับ                            ช่วง pHwater, 1:1
                                         กรดรุนแรงมากที่สุด                         < 3.5
                                           กรดรุนแรงมาก                            3.5 – 4.4
                                            กรดจัดมาก                              4.5 – 5.0

                                              กรดจัด                               5.1 – 5.5
                                           กรดปานกลาง                              5.6 – 6.0

                                            กรดเล็กน้อย                            6.1 – 6.5
                                             เป็นกลาง                              6.6 – 7.3
                                              ด่างอ่อน                             7.4 – 7.8
                                           ด่างปานกลาง                             7.9 – 8.4

                                              ด่างจัด                              8.5 – 9.0
                                             ด่างจัดมาก                             > 9.0

                                   ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2553)

                               3.1.2 ค่าการน าไฟฟ้าของดิน (ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2547)
                                     ค่าการน าไฟฟ้า (Electrical Conductivity: EC) เป็นค่าที่ใช้ประเมินปริมาณเกลือที่ละลาย
                       ได้ในดิน เกลือที่ละลายได้มีหลายชนิด บางชนิดละลายได้ดี เช่น NaCl, CaCl2, NaHCO 3 และ Na 2SO 4 เป็นต้น

                       บางชนิดละลายได้เพียงบางส่วน เช่น CaSO4 และใช้เป็นตัวก าหนดระดับความเค็มของดินอีกด้วยมีหน่วย
                       เป็นเดซิซีเมนส์ต่อเมตร (dS/m) ค่าการน าไฟฟ้าของดินของสารละลายเกลือจะเพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิของ
                       สารละลายเพิ่มขึ้น โดยจะเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 2 เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส ดังนั้นอุณหภูมิ
                       มาตรฐานเมื่อรายงานค่าค่าการน าไฟฟ้าของดิน คือ 25 องศาเซลเซียส ค่าการน าไฟฟ้าของดินแต่ละชนิด

                       ซึ่งการวัดค่าการน าไฟฟ้าของดินนี้สามารถใช้ประเมินระดับความเค็มของดิน ซึ่งดินเค็ม คือ ดินที่มีเกลือที่
                       ละลายได้ในสารละลายดินปริมาณมาก จนกระทบต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืช โดยทั่วไปค่าการ
                       น าไฟฟ้าของสารละลายในดินเค็มซึ่งสกัดจากดินที่อิ่มตัวด้วยน้ าเท่ากับ 4 หรือสูงกว่า 4 เดซิซีเมนส์ต่อเมตร

                       (หรือ มิลลิโมล์ต่อเซนติเมตร) พืชที่ไวต่อความเค็มจะเป็นอันตรายเมื่อความเค็ม ของดินมีคาสูงกว่า
                       2 เดซิซีเมนส์ต่อเมตร แต่พืชที่ทนเค็มได้จะมีการเจริญเติบโตลดลง เมื่อความเค็มของดิน มีค่าสูงกว่า
                       8 เดซิซีเมนส์ต่อเมตร ดินที่มีความเข้มข้นของเกลืออยู่มาก จะมีความเค็มสูง และอาจท าให้พืชเจริญเติบโต
                       ได้ไม่สมบูรณ์ เต็มที่หรืออาจท าให้พืชตายได้  อันตรายของความเค็มนั้นก็เนื่องมาจากเมื่อดินมีความเค็ม
                       มากรากพืชจะไม่สามารถดูดน้ าและธาตุอาหารเข้าไปสู่ล าต้นได้หรือได้น้อยลง  หรือถ้ามีความเค็มมากถึง
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31