Page 40 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           29







                       ละต้นในระยะนี มีความสัมพันธ์โดยตรงกับน  าหนักของแต่ละล าต้น และน  าหนักแต่ละล าต้น มีผลโดยตรง
                       ต่อผลผลิตน  าหนักของอ้อยทั งไร่ เมื่อเก็บเกี่ยว
                                        ๔) ระยะแก่และสุก (maturity and ripening phase) ระยะแก่คือระยะที่มีอัตรา
                       การเจริญเติบโตช้าลงมากเมื่อเปรียบเทียบกับระยะต่างๆ ตามที่ได้กล่าวแล้ว เมื่อการเจริญเติบโตเริ่มช้าลง

                       น  าตาลที่ใบสร้างขึ นจากการสังเคราะห์แสงก็จะถูกใช้น้อยลง และมีเหลือเก็บสะสมในล าต้นมากขึ น ซึ่งเป็น
                       การเริ่มต้นของระยะสุกนั่นเอง การสะสมน  าตาลจะเริ่มจากส่วนโคนไปหาปลาย ดังนั นส่วนโคนจึงหวาน
                       ก่อน และมีความหวานมากกว่าส่วนปลาย การสะสมน  าตาลจะมีมากขึ นโดยล าดับ จนกระทั่งส่วนโคน
                       ส่วนกลาง และส่วนปลาย มีความหวานใกล้เคียงกัน เรียกว่า สุก























                               ภาพที่ 6 การเปลี่ยนแปลงด้านชีพลักษ์ของอ้อย
                               ที่มา: Scarpare (n.d.)

                           3.1.3 การศึกษาการเจริญเติบโตของมันส าปะหลัง
                                 มันส าปะหลังปลูกได้ในดินทุกชนิด แต่ชอบดินร่วนปนทรายเพราะจะลงหัวและเก็บเกี่ยวง่าย

                       เจริญเติบโตได้ดีในสภาพดินที่ไม่มีน  าท่วมขัง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ระหว่าง 5.5-8.0 ทนต่อ
                       สภาพความเป็นกรดสูงได้แม้ pH ของดินจะต่ าจนถึง 4.5 ก็ไม่ท าให้ผลผลิตลด แต่ไม่ทนต่อสภาพพื นที่เป็น
                       ด่าง โดยไม่สามารถขึ นได้ถ้า pH สูงถึง 8 ถ้าเป็นดินทรายสามารถปลูกได้ตลอดปี แต่เกษตรกรมักนิยม

                       ปลูกปลายฤดูฝน เช่น แถบจังหวัดระยอง และชลบุรี ถ้าเป็นดินเหนียวจะนิยมปลูกต้นฤดูฝน เพราะถ้าเป็น
                       ฤดูแล้งการไถพรวนจะได้ดินก้อนใหญ่ ท่อนพันธุ์มันส าปะหลังจะแห้งตายก่อนที่จะงอก มันส าปะหลังเป็น
                       พืชวันสั น ซึ่งปจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของมันส าปะหลังมี 2 ปจจัย คือ
                                        1) ปจจัยทางดานพันธุกรรมมันส าปะหลัง
                                         มันส าปะหลัง แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ชนิดหวาน เป็นมันส าปะหลังใช้เพื่อการ

                       บริโภค มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคต่ าไม่มีรสขม สามารถใช้หัวสดท าอาหารได้โดยตรง เช่น น าไปนึ่ง
                       เชื่อม หรือทอด ซึ่งได้แก่ พันธุ์ห้านาที พันธุ์ระยอง 2 เป็นต้น 2. ชนิดขม เป็นมันส าปะหลังที่มีรสขม ไม่
                       เหมาะสมส าหรับการบริโภคของมนุษย์หรือใช้หัวสดเลี ยงสัตว์โดยตรง เนื่องจากมีปริมาณกรดไฮโดรไซ
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45