Page 38 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           27








                       โตช้าในช่วง 4 เดือนแรก การไว้ตอดี แตกกอดีมาก (6 - 8 ล าต่อกอ) ออกดอกเล็กน้อยในพื นที่ลุ่มมีน  าขัง
                       หักล้มเล็กน้อย ทนแล้งปานกลาง (กรมวิชาการเกษตร, ม.ป.ป.)
                                   1.3) พันธุ์อู่ทอง มีการพัฒนาพันธุ์ขึ นหลายสายพันธุ์ เช่น
                                          อ้อยพันธุ์อู่ทอง9 (99-2-168) เป็นลูกผสมจากพันธุ์แม่ 94-2-128 กับพันธุ์พ่อ 94-2-

                       270 ให้ผลผลิตน้าหนักเฉลี่ย 17.50 ตันต่อไร่ และให้ผลผลิตน้าตาล 2.45 ตันซีซีเอสต่อไร่ ต้านท านโรค
                       เหี่ยวเน่าแดงปานกลาง แนะน าให้ปลูกในดินร่วนปนทรายและมีการให้น  าเสริม
                                        อ้อยพันธุ์อู่ทอง12 (02-2-477) เป็นลูกผสมของพันธุ์แม่สุพรรณบุรี80 กับพันธุ์พ่ออู่
                       ทอง3 ให้ผลผลิตน้าหนักเฉลี่ย 16.92 ตันต่อไร่ และให้ผลผลิตน้าตาลเฉลี่ย 2.40 ตันซีซีเอสต่อไร่ ต้านทาน

                       โรคเหี่ยวเน่าแดง โรคแส้ด าระดับปานกลาง เป็นอ้อยที่ล้มยาก ไม่ออกดอก แนะน าให้ปลูกในเขต
                       ชลประทาน
                                        อ้อยพันธุ์อู่ทอง15  (84-2-254)  เป็นลูกผสมตัวเองของพันธุ์อูทอง2  ในฤดูปลายฝน
                       เขตนํ้าฝนให้ผลผลิตเฉลี่ย  17.91  ตันต่อไร  ให้ผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย  2.37  ตันซีซีเอสต่อไร  เมื่อปลูกในช่วง

                       ปลายฝน (อ้อยข้ามแลง) และให้ผลผลิตเฉลี่ย 14.16 ตันต่อไร ให้ผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย 1.98 ตันซีซีเอสต่อ
                       ไร่  เมื่อปลูกช่วงต้นฝนแนะนำในพื้นที่ปลูกปลายฝน  จ.  บุรีรัมย์  ขอนแก่น  นครราชสีมา  และชลบุรี  และ
                       พื้นที่ปลูกตนฝน จ. ลพบุรีและกาญจนบุรี ควรหลีกเลี่ยงพื้นที่มีน้ำขัง และมีโรคเหี่ยวเน่าแดงระบาด

                                 2) ปัจจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมต่อการเจริญเติบโตของอ้อย
                                   2.1) สภาพแวดล้อมทั่วไป
                                        อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส าคัญของภูมิภาคแถบร้อนชื นและกึ่งร้อนชื น อ้อยที่ปลูกใน
                       ดินซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์สูง และได้รับปัจจัยอันจ าเป็นต่อการเจริญเติบโตครบถ้วนย่อมให้ผลผลิตสูงทั ง
                       เชิงปริมาณและคุณภาพดินที่มีความอุดมสมบูรณ์สูงส าหรับอ้อยหมายถึงดินที่สามารถในการสนองธาตุ

                       อาหารแก่อ้อยได้ครบทุกธาตุแต่ละธาตุเพียงพอและสมดุลกันตามความต้องการของอ้อยในแต่ระยะของ
                       การเจริญเติบโต ดังนั นเรื่องของธาตุอาหารอ้อยจึงมีส าคัญมาก และเป็นปัจจัยที่จะน าไปสู่ความส าเร็จของ
                       การผลิตให้ได้ผลผลิตล าอ้อยและผลผลิตน  าตาลสูง (ยงยุทธ, 2556) สิ่งแวดลอมตางๆ ที่มีผลอยางมากต่อ

                       ปริมาณความชื นในดิน ชนิดของเนื อดิน และคุณสมบัติทางเคมีของดิน เช่น ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาค
                       ตะวันออก ปลูกอ้อยโดยอาศัยน  าฝน และน  าชลประทาน ในเขตอาศัยน้าฝน ถ้าเป็นดินร่วนปนทรายหรือ
                       ดินทราย ส่วนใหญ่จะปลูกอ้อยปลายฤดูฝน แต่ถ้าเป็นดินร่วนหรือร่วนเหนียว จะปลูกอ้อยในช่วงต้นฤดูฝน
                       (มีนาคม-เมษายน) ในเขตชลประทานปลูกอ้อยในเดือนกุมภาพันธ์ ถึง มีนาคม (วีระพล, 2558) แต่อย่างไร

                       ก็ตามอ้อยเจริญเติบโตได้ในดินที่มีสมบัติแตกต่างกัน กล่าวคือทนได้ในช่วงความเป็นกรดด่างของดินที่กว้าง
                       (ความเป็นกรดด่าง 4-9) แต่อาจมีปัญหาการขาดแคลนธาตุอาหารบางธาตุในดินที่มีสภาพกรดหรือสภาพ
                       ด่างสูงมาก อ้อยบางพันธุ์สามารถทนต่อสภาพความเค็มระดับปานกลางและการท่วมขังของน  าในบาง
                       ช่วงเวลา แต่ดินที่ปลูกอ้อยได้ผลดีต้องไม่มี ปัญหาด้านความเค็ม เนื่องจากค่าความเค็มอันเป็นจุดเริ่ม

                       เปลี่ยน (salinity threshold) ส าหรับอ้อย คือ 1.7 เดซิซีเม็น/เมตร (dS/m) ซึ่งหมายความว่าเมื่อระดับ
                       ความเค็มของดินเกิน 1.7 เดซิซีเม็น/เมตร ผลผลิตอ้อยจะเริ่มลดลง และมีอัตราการลดลงของผลผลิต
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43