Page 37 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           26







                                   พันธุ์อ้อยที่ปลูกเป็นการค้าในประเทศไทยแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ อ้อยเคี ยว
                       (chewing cane) และอ้อยโรงงาน (industrial cane) ซึ่งอ้อยโรงงานเป็นอ้อยส าหรับท าน  าตาล เป็นอ้อย
                       ลูกผสมซึ่งเกิดขึ นโดยนักผสมพันธุ์อ้อยของประเทศต่างๆ ทั่วโลก  พันธุ์อ้อยเหล่านี ได้ถูกน าเข้าไปยัง
                       ประเทศต่างๆ  ส าหรับประเทศไทยได้มีการน าพันธุ์อ้อยลูกผสมเข้ามาจากต่างประเทศตั งแต่อดีตจนถึง

                       ปัจจุบัน รวมประมาณ ๒๒๐ พันธุ์ ในจ านวนนี มีเพียง ๒๐ พันธุ์ที่ปลูกเป็นการค้าอยู่ในภาคต่างๆ (เกษม,
                       ม.ป.ป.) โดยพันธุอ้อยที่เหมาะสมส าหรับปลูกในภาคกลาง ได้แก่  ได้แก่ LK92-11, ขอนแก่น 3, K88-92,
                       K99-72, อู่ทอง 7 เป็นต้น (ชาวไร่อ้อยแต่ละราย ควรเลือกพันธุ์อ้อยที่เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นของ
                       ตนเอง และเลือกใช้อ้อย อย่างน้อย 2-3 พันธุ์ โดยเลือกพันธุ์ที่มีอายุเก็บเกี่ยวสั น อายุปานกลาง และอายุ

                       ยาว เพื่อวางแผนเก็บเกี่ยวอ้อยแต่ละพันธุ์ส่งโรงงานในช่วงต้นฤดูหีบ กลางฤดูหีบ และปลายฤดูหีบ พันธุ์
                       อ้อยที่เลือกใช้ นอกจากให้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพความหวานมากกว่า 10 ซีซีเอส แล้วควรเป็นพันธุ์ที่
                       ต้านทานต่อโรคหรือแมลงที่มีการระบาดมากในแต่ละท้องถิ่น เช่น เป็นพันธุ์ที่ต้านทานต่อโรคเหี่ยวเน่าแดง
                       โรคแส้ด า โรคกอตะไคร้ และต้านทานต่อแมลงศัตรูอ้อยชนิดต่างๆ พันธุ์อ้อยที่ดี ควรเป็นพันธุ์ที่มี

                       ความสามารถในการไว้ตอได้ไม่น้อยกว่า 2 ครั ง และมีผลผลิตลดลงจากอ้อยปลูกไม่เกิน 20 เปอร์เซ็นต์
                       พันธุ์อ้อยจะเป็นตัวก าหนดผลผลิตอ้อยตันต่อไร่ (มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2561)  โดยอนุรักษ์ และคณะ
                       (2562) รายงานว่า เกษตรกรในจังหวัดกาญจนบุรี สุพรรณบุรี และราชบุรี นิยมปลูกอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3

                       พันธุ์ LK92-11  พันธุ์อู่ทอง (อู่ทอง 9 11 12 และ 15) พันธุ์ก าแพงแสน และพันธุ์อื่นๆ คิดเป็น 57.47
                       19.54 10.92 6.90 และ 5.17 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ โดยพันธุ์ LK92-11 และ พันธุ์อู่ทอง เป็นพันธุ์ที่นิยม
                       ปลูกไว้ตอเนื่องจากเป็นพันธุ์ที่เกษตรกรใช้ปลูกมานาน ขณะที่พันธุ์ขอนแก่น 3 เป็นพันธุ์ใหม่ที่ให้ผลผลิต
                       สูง โดยลักษณะประจ าพันธุ์ของอ้อยแต่ละพันธุ์มีดังนี
                                   1.1) พันธุ์ขอนแก่น 3 ทรงกอตั งตรง ล าขนาดปานกลาง แตกกอปานกลาง (49ล า/กอ)

                       ปล้องทรงกระบอก สีเหลือง อมเขียว และเปลี่ยนเป็นสีส้มแดงเมื่อโดนแสง การเรียงตัวของปล้องเป็นแบบ
                       ซิกแซก ตามีลักษณะกลมรี หูใบด้านนอกรูปใบหอกสั น หูใบด้านในรูปใบหอกยาว คอใบสีเขียวน  าตาลรูป
                       ชายธง ปลายใบโค้ง กาบใบอ้า ลอกง่าย สีเขียว ไม่มีขน ให้ผลผลิตเฉลี่ย 21.7 ตันต่อไร่ น  าหนักเฉลี่ย

                       1.85 กิโลกรัมต่อล า ฤดูเก็บเกี่ยว ธันวาคม- เมษายน อายุการเก็บเกี่ยว   12 เดือน เหมาะส าหรับปลูกใน
                       สภาพดินร่วนปนทราย สภาพพื นที่เป็นที่ราบหรือที่ดอน น  าไม่ท่วมขัง และระบายน  าดี ค่า pH ที่เหมาะสม
                       ระหว่าง 5.5-7.5 ในการปลูกอ้อยควรมีการเตรียมดินก่อน  ก าจัดวัชพืชและปรับปรุงโครงสร้างของดินให้
                       เหมาะสมกับการปลูกอ้อย และควรบ ารุงดินในแปลงปลูกอย่างสม่ าเสมอ

                                   รายงานว่า อ้อยปลูกและอ้อยตอ ที่ปลูกในพื นที่ดินเหนียวของจังหวัดพิษณุโลก พันธุ์
                       ขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตอ้อยเฉลี่ย 12-22 ตันต่อไร่ ความหวาน 12-13 CCS มีอายุเก็บเกี่ยวที่ 12 เดือน
                       การเจริญโตเร็วสามารถไว้ตอได้ดี (พิชัย และ อนุพงศ์, 2022)
                                   1.2) พันธุ์ LK92-11 (สอน.12)  ให้ผลผลิตอ้อยเฉลี่ย 15-16 ตันต่อไร่ ความหวาน 13-14

                       CCS มีอายุเก็บเกี่ยวที่ 11.5-13.5 เดือน การเจริญโต ช่วง 4 เดือนแรกค่อนข้างช้า แต่สามารถไว้ตอได้ดี
                       (พิชัย และ อนุพงศ์, 2022) ให้ผลผลิต 17- 18 ตันต่อไร่ ในเขตชลประทาน ความหวาน 12 - 14 ซีซีเอส
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42