Page 34 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           23







                       (chlorophyll) เป็นตัวรับแสงไปใช้เป็นพลังงานในการเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์และน  าเป็น
                       คาร์โบไฮเดรตและออกซิเจน แสงมีความส าคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น การงอกของเมล็ดพันธุ์แต่
                       ละชนิดต้องการแสงไม่เหมือนกัน ช่วงแสง (photoperiod) หรือความยาวนานของช่วงแสง มีอิทธิพลต่อ
                       การเจริญเติบโตด้านล าต้นและการเจริญเติบโตด้านสืบพันธุ์ ความยาวของช่วงกลางวันที่มีผลต่อการออก

                       ดอกของพืช เรียกว่าพืชวันสั น (short day plants) พืชวันยาว (long day plants) และพืชที่ไม่
                       ตอบสนองต่อช่วงแสง (day neutralplants) ความเข้มของแสง (light intensity) พืชแต่ละชนิดต้องการ
                       ความเข้มของแสงไม่เท่ากัน ความยาวของคลื่นแสง (light spectrum) มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
                       แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ คลื่นแสงที่มองไม่เห็น (invisible light) เป็นตัวการในการยับยั งการเจริญเติบโต

                       ของพืช และแสงอินฟราเรด (infra red) ซึ่งจะท าให้ปล้องของพืชยืดยาวออก ส่วนคลื่นแสงที่มองเห็น
                       (visible light) มีผลต่อพืช คือ แสงสีม่วงและสีน  าเงิน แสงสีเขียวระงับการเจริญเติบโตของพืช แสงสีแดง
                       ส่งเสริมการงอกของเมล็ด แสงสีไกลแดง (far red) ยับยั งการงอกของเมล็ด โดยมากแล้วพืชมักต้องการ
                       แสงสีน  าเงินและแสงสีแดงเป็นหลัก แต่สัดส่วนของแสงสีน  าเงินต่อแสงสีแดงที่เหมาะสม ขึ นอยู่กับชนิดพืช

                                   2.2) อุณหภูมิ เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความส าคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช
                       และมีผลต่อกระบวนการต่าง ๆ ของพืช เช่น กระบวนการหายใจ กระบวนการสังเคราะห์แสงและการคาย
                       น  าของพืช พืชแต่ละชนิดมีความต้องการอุณหภูมิสูงต่างแตกต่างกัน การจ าแนกพืชตามอุณหภูมิที่

                       เหมาะสมแบ่งพืชออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่พืชเขตร้อน (tropical plants) เป็น พืชที่ต้องการอุณหภูมิ
                       ค่อนข้างสูงอยู่ในเขตร้อนศูนย์สูตรและบริเวณใกล้เคียงเส้นศูนย์สูตร เช่น มะม่วง ทุเรียน และลางสาด พืช
                       กึ่งเขตร้อน (subtropical plants) เป็นพืชที่ต้องการอากาศ ค่อนข้างเย็น อุณหภูมิต่าประมาณ 5-8 องศา
                       เซลเซียส (ยังไม่ถึงขั นสภาวะน  าค้างแข็งหรือหิมะ) นานพอที่จะกระตุ้นให้เกิดตาดอกและผล เช่น ส้ม ล าไย
                       และลิ นจี่ พืชเขตหนาว (temperate plants) ได้แก่ พืชที่ต้องการอากาศหนาวเย็นประมาณ 0 องศา

                       เซลเซียสหรือต่ ากว่าเป็นเวลาตลอดฤดูหนาว ระยะนี พืชจะพักตัวเป็นส่วนมากและพร้อมที่จะผลิตตาดอก
                       และให้ผลใน ฤดูใบไม้ผลิถัดมา โดยมากมักจะสลัดใบในฤดูหนาว เช่น แอปเปิล ท้อ และทิวลิป เป็นต้น
                                   2.3) อากาศที่อยู่ในบรรยากาศทั่วไปและในดิน มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืชและ

                       จุลินทรีย์ชนิดต่าง ๆ อากาศในดินส่วนใหญ่ประกอบด้วย ก๊าซออกซิเจน ไนโตรเจน และ
                       คาร์บอนไดออกไซด์ส่วนก๊าซอื่น ๆ มีปะปนอยู่บ้างเล็กน้อย รากพืชใช้ก๊าซออกซิเจนที่อยู่ในดินในการ
                       หายใจ ถ้าในดินมีก๊าซออกซิเจนไม่เพียงพอจะท าให้รากพืชไม่เจริญเติบโต มีผลโดยตรงต่อการดูดน  าและ
                       แร่ธาตุอาหาร ส่วนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในดิน ถ้ามีมากเกินไปก็จะเป็นพิษต่อพืช รากพืชดูดน  าและธาตุ

                       อาหารได้น้อยลง
                                   2.4) น  าเป็นสิ่งที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิต และการเจริญเติบโตของพืช น  าเป็นตัวช่วย
                       ละลายธาตุอาหารพืชที่อยู่ในดินให้อยู่ในรูปของสารละลาย ซึ่งรากพืชสามารถดูดเอาไปใช้ประโยชน์ได้
                       เป็นวัตถุดิบในการสังเคราะห์แสงของพืช ช่วยล าเลียงแร่ธาตุ อาหาร แป้ง และน  าตาล ที่ได้จากการ

                       สังเคราะห์แสงส่งไปยังส่วนต่าง ๆ ของต้นพืช และช่วยปรับระดับอุณหภูมิภายในต้นพืชด้วยการคายน  า ถ้า
                       พืชเสียน  ามากจะท าให้พืชชะงักการเจริญเติบโต แบ่งพืชออกตามความต้องการน  าออกเป็น ๓ ประเภท
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39