Page 35 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ Using of remote sensing for economic crops growth pattern study
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           24







                       ได้แก่พืชที่ต้องการน  าปริมาณมาก ได้แก่ ข้าว ผักกระเฉด และบัวพืชที่ต้องการน  าปริมาณปานกลาง เป็น
                       พืชที่ขึ นได้ดีในที่ดอนทั่วไป มีทั งพืชไร่ พืชสวน เช่น แตงกวาถั่วเหลือง ข้าวโพด ส้ม มะม่วง พืชที่ต้องการ
                       น  าปริมาณน้อย เป็นพืชที่ทนความแห้งแล้งได้ดีเหมาะที่จะปลูกในที่ที่ปริมาณฝนตกน้อยหรือในที่ที่เป็นดิน
                       ร่วนปนทรายซึ่งอุ้มน  าได้ไม่ดี เช่น มันส าปะหลัง กระบองเพชร

                                   2.5) ดิน พืชส่วนใหญ่มักเจริญเติบโตได้ดีในดินที่มีความร่วนซุย มีปริมาณน  า อากาศ และ
                       ธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืชอย่างเพียงพอส่วนประกอบของดินที่มีคุณภาพดีและให้ผลผลิตสูงควรที่
                       จะมีส่วนประกอบตามสัดส่วนดังนี แร่ธาตุร้อยละ 45อินทรียวัตถุร้อยละ 5อากาศร้อยละ 25น  าร้อยละ 25
                       ลักษณะเนื อดินที่ใช้ในการเพาะปลูกแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ ดินเหนียว คือ ดินที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง

                       ของอนุภาคดินเล็กที่สุด เล็กกว่า 0.002 มิลลิเมตร เป็นดินที่มีการจับตัวกันอย่างหนาแน่น มีช่องว่าง
                       ระหว่างเม็ดดินน้อย ดินเหนียวจึงมีประสิทธิภาพในการอุ้มน  าไว้ได้ดีที่สุด ดินร่วน คือ ดินที่มี
                       เส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคดินตั งแต่ 0.002- 0.05 มิลลิเมตร ดินชนิดนี มีช่องว่างระหว่างเม็ดดินมาก น  า
                       และอากาศผ่านได้ง่าย อุ้มน  าได้น้อยกว่าดินเหนียว ดินทราย คือ ดินที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคดิน

                       ตั งแต่ 0.05-2.0 มิลลิเมตร ลักษณะเนื อดินหยาบ เม็ดดินไม่เกาะตัวกัน มีช่องว่างในดินมาก ระบายน  าได้ดี
                       ด้วยเหตุนี ดินทรายจึงเป็นดินที่ไม่สามารถเก็บกักน  าไว้ได้ความเป็นกรด-ด่างที่เหมาะสมส าหรับการ
                       เจริญเติบโตของพืชส่วนมากอยู่ในช่วง ประมาณ 5.5 - 7.0 โดยทั่วไปหากดินไม่เหมาะสมแก่การปลูกพืช

                       จะต้องแก้ไขปรับปรุงดิน
                                   2.6) ธาตุอาหาร (mineral หรือ nutrient) พืชมีความต้องการธาตุอาหารเพื่อใช้ในการ
                       เจริญเติบโตธาตุอาหารที่พืชต้องการในการเจริญเติบโตมี 16 ธาตุ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มตาม ปริมาณที่พืช
                       ต้องการ ได้แก่ ธาตุอาหารหลัก (macronutrients) ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K)
                       เนื่องจาก 3 ธาตุนี พืชใช้มากแต่มักจะได้รับจากดินไม่ค่อยเพียงพอกับความต้องการ ต้องใส่ปุ๋ยอยู่เสมอธาตุ

                       อาหารรอง ได้แก่ แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) และก ามะถัน (S) เป็นกลุ่มที่พืชต้องการในปริมาณที่
                       น้อยกว่า และไม่ค่อยมีปัญหาขาดแคลนในดิน ธาตุอาหารรอง (micronutrients) เป็นธาตุอาหารที่พืช
                       ต้องการใช้เป็นปริมาณน้อย มีอยู่ 7 ธาตุ ได้แก่ เหล็ก (Fe) แมงกานีส (Mn) โบรอน (B) โมลิบดินัม (Mo)

                       ทองแดง (Cu)สังกะสี (Zn) และคลอรีน (Cl) ธาตุอาหารแต่ละชนิดมี ความส าคัญและจ าเป็นต่อการ
                       เจริญเติบโตของพืชไม่น้อยไปกว่ากัน ต่างกันแต่เพียงปริมาณที่พืชต้องการเท่านั น ดังนั นพืชจึงขาดธาตุใด
                       ธาตุหนึ่งไม่ได้หากพืชขาดธาตุอาหารแม้แต่เพียงธาตุเดียว พืชจะหยุดการเจริญเติบโต แคระแกร็น ไม่ให้
                       ผลผลิตและตายในที่สุด

                           3.1.2 ชีพลักษณ์ของพืช
                                 ชีพลักษณ์ (phenology) เป็นการศึกษาขั นตอนที่เกิดขึ นประจ าของพืชและสัตว์ ที่เกิดจาก
                       การเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาของเหตุการณ์ตามฤดูกาล เช่น การแตกหน่อ การออกดอก การพักตัว การ
                       อพยพ การจ าศีล และการแก่ชรา และความสัมพันธ์กับปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงของชีพ

                       ลักษณ์เชื่อมโยงกับฤดูปลูกและส่งผลต่อการท างานของระบบนิเวศและผลผลิต ได้รับผลกระทบทั ง
                       เกษตรกรรม ป่าไม้ และสวน รวมทั งสัตว์ป่า เวลาของการไถพรวน การหว่าน และการเก็บเกี่ยวมีการ
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40