Page 39 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุบลราชธานี
P. 39
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
32
ตารางที่ 9 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
125,363 125,363
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - - -
(100.00%) (100.00%)
เหล่าเสือ พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ - - - 51 51
โก้ก เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.04%) (0.04%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - - - -
2,000 112,454 114,454
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน - -
(100.00%) (100.00%) (100.00%)
ดอนมด พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ - - - 20 20
แดง เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.02%) (0.02%)
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - - - -
86,437 685,664 1,537,864 5,433,056 7,743,021
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.0%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 1,149 5,917 3,497 4,751 15,314
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (1.33%) (0.86%) (0.23%) (0.09%) (0.20%)
85,288 679,747 765,035
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(98.67%) (99.14%) (9.88%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่าพื้นที่ที่ควรพิจารณา
ให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกปาล์มน้ำมัน คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 145,973 ไร่ และมัน
สำปะหลัง (S3+N) 105,127 ไร่ โดยอำเภอที่มีศักยภาพในการขยายการผลิตปาล์มน้ำมัน (ตารางที่ 10)
ตารางที่ 10 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตปาล์มน้ำมัน
ข้าว (ไร่) มันสำปะหลัง (ไร่)
อำเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
น้ำยืน 12,314 1,974 14,288 47,897 - 47,897
น้ำขุ่น 4,564 914 5,478 10,300 - 10,300
บุณฑริก 42,020 467 42,487 9,472 - 9,472
สิรินธร 205 266 471 1,066 - 1,066
เดชอุดม 47,738 2,357 50,095 13,068 - 13,068
นาจะหลวย 28,732 3,611 32,343 20,245 20,245
ทุ่งศรีอุดม 770 41 811 3,079 - 3,079
รวม 136,343 9,630 145,973 105,127 - 105,127