Page 44 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุดรธานี
P. 44

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               37







                       อ าเภอหนองแสง อ าเภอทุ่งฝน อ าเภอเมืองอุดรธานี อ าเภอพิบูลย์รักษ์ อ าเภอนายูง อ าเภอไชยวาน
                       อ าเภอประจักษ์ อ าเภอศรีธาตุ อ าเภอเพ็ญ อ าเภอหนองวัวซอ และอ าเภอกู่แก้ว
                         กระชายด า มีรูปร่างเป็นเหง้าเหมือนกับกระชายทั่วไปเป็นพืชล้มลุก สามารถแตกหน่อออกไป
                       ได้เรื่อยๆ ระยะเวลาเก็บเกี่ยวได้ก็คือ 10-12 เดือน เกษตรกรสามารถปลูกกระชายด าแซมในสวน

                       เป็นการใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์ได้ โดยพื้นที่จังหวัดอุดรธานีมีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกกระชายด า
                       ที่ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 159,212 ไร่ กระจายอยู่ในอ าเภอทุ่งฝน อ าเภอนายูง อ าเภอ
                       บ้านดุง อ าเภอบ้านผือ อ าเภอพิบูลย์รักษ์ อ าเภอเพ็ญ อ าเภอวังสามหมอ และอ าเภอหนองหาน
                       4. แนวทางการส่งเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                         4.1 ข้าว
                            1) พื้นที่ปลูกข้าวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกข้าวอยู่ มีเนื้อที่ 177,546 ไร่

                       อยู่ในเขตอ าเภอเมืองอุดรธานี อ าเภอกุดจับ อ าเภอเพ็ญ อ าเภอหนองหาน อ าเภอกุมภวาปี อ าเภอบ้านผือ
                       อ าเภอพิบูลย์รักษ์ อ าเภอบ้านดุง อ าเภอไชยวาน และกระจายตัวในพื้นที่เล็ก ๆ ในอ าเภอทุ่งฝนอ าเภอนายูง

                       อ าเภอประจักษ์ และอ าเภอหนองแสง ทั้งนี้โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดควรให้มีการเสนอ
                       แผนการใช้ที่ดินเพื่อสงวนให้เป็นแหล่งผลิตข้าวที่ส าคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ า
                       ชลประทาน การจัดการดินและปุ๋ย พันธุ์ข้าว โดยรวมกลุ่มเป็นเกษตรแปลงใหญ่ พัฒนาต่อยอดครบวงจร

                       การตลาดในและต่างประเทศ การแปรรูป แหล่งทุน มีภาครัฐสนับสนุนการท ามาตรฐานสินค้าเกษตร
                       อินทรีย์ และ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) และเนื่องจากเป็น

                       พื้นที่ศักยภาพสูง ควรส่งเสริมการปลูกพืชหลังนาจะช่วยให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นและเป็นการ
                       ปรับปรุงบ ารุงดิน

                            2) พื้นที่ปลูกข้าวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปัจจุบันยังปลูกข้าวอยู่ มีเนื้อที่
                       1,128,012 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอ าเภอบ้านดุง อ าเภอเพ็ญ อ าเภอหนองหาน อ าเภอเมืองอุดรธานี

                       อ าเภอบ้านผือ อ าเภอกุมภวาปี และกระจายตัวทุกอ าเภอ เป็นพื้นที่ปลูกข้าวที่มีข้อจ ากัดไม่มากนัก
                       เกษตรกรยังคงปลูกข้าวได้ผลดี หลายแห่งประสบปัญหาขาดน้ าในบางช่วงของการเพาะปลูกควรเพิ่มการ
                       สนับสนุนด้านการชลประทาน เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับเกษตรกรในการใช้ที่ดิน ท าให้ปัญหาการทิ้งถิ่น

                       ฐานไปท างานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมส าหรับการเกษตรแบบผสมผสาน หรือ
                       เกษตรทฤษฎีใหม่

                            3) พื้นที่ปลูกข้าวที่ไม่มีความเหมาะสม (S3 และ N) และปัจจุบันเกษตรกรยังคงใช้ที่ดินปลูก
                       ข้าวอยู่ มีประมาณล้านกว่าไร่ ซึ่งประสบปัญหาน้ าท่วมซ้ าซาก ขาดน้ า ผลผลิตต่ า กระทรวงเกษตร

                       และสหกรณ์ให้การช่วยเหลือเกษตรกรที่ท ากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับโครงสร้างที่ดิน
                       สนับสนุนแหล่งน้ า ให้เกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม่ที่มีความเหมาะสมและให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า

                       หรือใช้พื้นที่เพื่อผลิตอาหารบริโภคในครัวเรือน
                            4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกข้าว แต่ปัจจุบันเกษตรกรไม่ได้ใช้
                       พื้นที่ปลูกข้าว โดยหันมาปลูกมันส าปะหลังและยางพาราแทน แต่ในอนาคตเกษตรกรสามารถกลับมา

                       ปลูกข้าวหรือท าการเกษตรแบบผสมผสานได้เหมือนเดิม
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49