Page 46 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุดรธานี
P. 46

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               39







                       เพื่อเพิ่มมูลค่า แหล่งทุน มีภาครัฐสนับสนุนการท ามาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์ และการปฏิบัติทาง
                       เกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) และเนื่องจากเป็นพื้นที่ศักยภาพสูง
                            2) พื้นที่ปลูกมันส าปะหลังที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปัจจุบันยังปลูกมันส าปะหลัง

                       อยู่ มีเนื้อที่ 402,098 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอ าเภอศรีธาตุ อ าเภอกุมภวาปี และอ าเภอบ้านผือ
                       เกษตรกรยังคงปลูกมันส าปะหลังได้ผลดี หลายแห่งประสบปัญหาโครงสร้างของดินหรือดินดาน การ

                       สนับสนุนอินทรียวัตถุหรือการไถระเบิดดาน ส่งเสริมการปรับปรุงบ ารุงดินและการตรวจวิเคราะห์ดิน
                       อยู่เสมอจะสร้างความมั่นใจให้กับเกษตรกรในการใช้ที่ดิน ปัญหาการทิ้งถิ่นฐานไปท างานที่อื่นจะลดลง

                            3) พื้นที่ปลูกมันส าปะหลังในพื้นที่ไม่มีความเหมาะสม (S3 และ N) และปัจจุบันเกษตรกร
                       ยังคงใช้ที่ดินปลูกมันส าปะหลังอยู่ พื้นที่ดังกล่าวประสบปัญหาซ้ าซาก เช่น น้ าท่วม ขาดน้ า ผลผลิตต่ า

                       กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้การช่วยเหลือเกษตรกรที่ท ากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับ
                       โครงสร้างที่ดินสนับสนุนแหล่งน้ า ให้เกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม่ที่มีความเหมาะสม
                       ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า และใช้พื้นที่เพื่อผลิตอาหารบริโภคในครัวเรือน รวมถึงการสนับสนุนข้อมูล

                       ด้านการตลาดของพืชชนิดใหม่
                            4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกมันส าปะหลัง แต่ปัจจุบันเกษตรกร

                       ไม่ได้ใช้พื้นที่ปลูกมันส าปะหลัง พบว่าเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทนเช่น ข้าว และยางพารา เป็นต้น ภาครัฐ
                       ควรให้ความรู้แก่เกษตรกรด้านการปรับปรุงบ ารุงดินไม่ให้เสื่อมโทรมและสร้างแรงจูงใจให้กลับมาปลูก

                       มันส าปะหลังเหมือนเดิม เนื่องจากพื้นที่มีความเหมาะสม ท าให้ใช้ต้นทุนการผลิตต่ า
                       และผลผลิตมีคุณภาพดี ทั้งนี้เกษตรกรต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย

                         4.4 ยางพารา
                            1) พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกยางพาราอยู่ มีเนื้อที่
                       22,275 ไร่ มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอ าเภอนายูง และอ าเภอวังสามหมอ ตามล าดับ ทั้งนี้ โดยคณะอนุกรรมการ

                       พัฒนาที่ดินจังหวัดควรให้มีการเสนอแผนการใช้ที่ดินเพื่อสงวนให้เป็นแหล่งปลูกยางพาราคุณภาพดี
                       ที่ส าคัญของจังหวัด ควรมีการจัดการดินและปุ๋ย พันธุ์คุณภาพดี ความรู้ด้านการปรับปรุงบ ารุงดินที่

                       เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ สนับสนุนการรวมกลุ่มเป็นเกษตรแปลงใหญ่เพื่อลดต้นทุนการผลิตและสร้าง
                       ความเข้มแข็ง พัฒนาต่อยอดครบวงจรการตลาดในและต่างประเทศการแปรรูป แหล่งทุน มีภาครัฐ
                       สนับสนุนการท ามาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์ และ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good

                       Agricultural Practices:GAP)
                            2) พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปัจจุบันยังปลูกยางพาราอยู่

                       มีเนื้อที่ 265,807 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอ าเภออ าเภอน้ าโสม อ าเภอบ้านผือ และอ าเภอ
                       วังสามหมอ เกษตรกรยังคงปลูกยางพาราได้ผลดี หลายแห่งประสบปัญหาโครงสร้างของดิน ส่งเสริม

                       การปรับปรุงบ ารุงดินและการสนับสนุนอินทรียวัตถุจะสร้างความมั่นใจให้กับเกษตรกรในการใช้ที่ดิน
                       สนับสนุนการพัฒนาการตลาดในพื้นที่ให้เหมาะสมท าให้ปัญหาการทิ้งถิ่นฐานไปท างานที่อื่นจะลดลง
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51