Page 31 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดหนองคาย
P. 31
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
24
3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด
จังหวัดหนองคายสามารถทำการเกษตรไดหลากหลายชนิดทั้งนาขาว พืชไร พืชผัก ไมผล
ประมงและปศุสัตว นอกจากสินคาเกษตรหลักอยางขาว และยางพารา ที่สรางรายไดใหผลิตภัณฑมวล
รวมจังหวัดอยางตอเนื่องแลว จังหวัดหนองคายไดกำหนดสินคาเกษตรเพื่อสงเสริมการจัดตั้งบริษัท
ประชารัฐรักสามัคคี จังหวัดหนองคาย ดำเนินการระบบสงเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ และ
การทำเกษตรในพื้นที่เหมาะสม (Zoning) รวมทั้งการดำเนินงานตามวิสัยทัศนของประเทศ “มั่นคง
มั่งคั่ง ยั่งยืน” สินคาเกษตรเปนโอกาสหรือพืชเศรษฐกิจอนาคตไกลเหมาะสมเปนพืชทางเลือกปลูก
ไดแก โกโก กลวยหอมทอง กลวยหอมเปรี้ยว (สม) สับปะรด และมะพราวน้ำหอม
3.1 โกโก เปนพืชเขตรอนที่ตองการน้ำสม่ำเสมอ พื้นที่ปลูกควรมีแหลงน้ำที่เพียงพอ
เจริญเติบโตไดดีในพื้นที่ระบายน้ำดี เปนพืชที่ตองการรมเงาพอสมควร ใหผลผลิตไดตั้งแตอายุ 3 ป
และสามารถเก็บเกี่ยวตลอดป โดยเมื่ออายุมากขึ้นยิ่งใหผลผลิตสูง นิยมปลูกในพื้นที่อำเภอสังคมและ
อำเภอศรีเชียงใหม เนื่องจากสภาพพื้นที่เปนภูเขาสูง เนื้อดินรวน อากาศมีความชื้นและเย็นจากแมน้ำโขง
การขายสดจะไดราคาต่ำกวาการหมักหรือแปรรูปแลว ทางจังหวัดหนองคายไดสนับสนุนใหมีโรงบม
เพื่อแปรรูปกอนจำหนาย ประกอบกับทิศทางการใสใจสุขภาพ คนนิยมดื่มโกโกมากยิ่งขึ้นเปนโอกาสดี
ในการปลูกโกโกและแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลคากอนจำหนายและสงออก
3.2 กลวยหอมทองและกลวยหอมสม กลวยเปนพืชที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง
ของจังหวัดหนองคาย ในอดีตนิยมปลูกกลวยน้ำวา โดยเกษตรกรจะปลูกกลวยน้ำวาตามพื้นที่วางหัวไร
ปลายนาจนถึงปลูกเปนอาชีพหลักและอาชีพเสริม รายละตั้งแต 1 ถึง 10 ไร และสรางรายไดจากการ
ขายสวนตาง ๆ นอกเหนือจากผลผลิตหลักของกลวย เชน หัวปลี หยวกกลวย หนอกลวย เปนตน
ปจจุบันกลวยน้ำวาไดรับความนิยมปลูกลดลง โดยหันมาปลูกกลวยหอม ทั้งกลวยหอมทองและกลวย
หอมเปรี้ยว หรือ กลวยหอมสมมากขึ้น เนื่องจากกลวยน้ำวาที่ปลูกเกิน 3 ป จะมีอาการของโรคตายพราย
ทำใหเกษตรกรเปลี่ยนพันธุปลูกเพื่อใหทนทานตอโรค และใหผลตอบแทนจากการผลิตที่สูงกวา
ผลผลิตบางสวนสามารถใชทดแทนกันกับกลวยน้ำวาได ทั้งนี้การปลูกกลวยหอมทอง ใหผลตอบแทนสูง
แตมีขั้นตอนการผลิตที่ใชความละเอียด และการปลูกตองไมซ้ำกับพื้นที่เดิม
3.3 สับปะรด เกษตรกรจังหวัดหนองคายนิยมปลูกสับปะรดพันธุปตตาเวีย จากลักษณะ
พื้นที่และสภาพอากาศทำใหไดรสชาติที่มีเอกลักษณเฉพาะตัว มีความหวานฉ่ำเปนพิเศษ เปลือกบาง
ตาตื้น และจากจุดเดนนอกจากรสชาติ ยังมีเรื่องกระบวนการผลิตที่เนนการจัดการดิน น้ำ ปุย สงผล
ใหบริเวณพื้นที่อำเภอศรีเชียงใหมกำลังอยูระหวางขอขี้นทะเบียนสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ในชื่อพันธุ
สับปะรดศรีเชียงใหม การปลูกสับปะรดสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตไดตลอดป โดยจังหวัดหนองคาย
มีชวงผลผลิตออกสูตลาดมากที่สุดชวงเดือน เมษายนถึงกรกฎาคม
3.4 มะพราวน้ำหอม สามารถปลูกไดในดินเกือบทุกชนิด ปริมาณผลผลิตขึ้นกับปริมาณธาตุอาหาร
สภาพความอุคมสมบูรณของดิน และสภาพความเปนกรดดางที่เหมาะแกการปลูกควรอยูระหวาง 6 - 7
มะพราวจะเริ่มออกผลตั้งแตปที่ 3 เมื่อติดลูกแลวรออีก 7 เดือนจะสามารถเก็บลูกจำหนายได
โดยมะพราวเปนพืชที่ตองการปุยบำรุง มะพราวน้ำหอมสามารถเก็บเกี่ยวสรางรายไดเปนระยะเวลานาน