Page 36 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดหนองคาย
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               29







                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมสำหรับการปลูกออยโรงงานแตเกษตรกร หันมาปลูก
                       พืชอื่นทดแทน เชน ปาลมน้ำมัน มะพราว ไมผล ไมยืนตน มันสำปะหลัง หรือพืชไรอื่น ๆ ควรสราง
                       ความเขาใจใหกับเกษตรกรในการบริหารจัดการพื้นที่ และการปรับปรุงบำรุงดินไมใหเสื่อมโทรม

                       หากเกษตรกรตองการกลับมาใชพื้นที่ปลูกออยโรงงานเหมือนเดิม จะไดไมไมตองมีตนทุนการผลิตสูง
                       ในการปรับปรุงบำรุงดิน

                         4.4  ปาลมน้ำมัน

                             1) พื้นที่ปลูกปาลมน้ำมันที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกปาลมน้ำมันอยู
                       มีเนื้อที่ 56,981 ไร อยูในอำเภอรัตนวาปทั้งหมด ทั้งนี้คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดเสนอ

                       แผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนพื้นที่ปลูกปาลมน้ำมัน และมีการบริหารจัดการน้ำอยางดี รวมทั้งการ
                       จัดการดินและปุยตามมาตรฐาน สงเสริมใหมีการใชปุยใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ใชพันธุปาลมน้ำมัน

                       ที่ไดรับการรับรอง สนับสนุนการรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ สรางเครือขายในรูปแบบของสหกรณ
                       กลุมเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน ลานเท กับโรงงานสกัดน้ำมัน สงเสริม ใหความรูเรื่องการตัดปาลมน้ำมันที่

                       ไดคุณภาพ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและพัฒนาใหเกษตรกรเพาะปลูกตามการปฏิบัติทาง
                       การเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practice: GAP)

                             2) พื้นที่ปลูกปาลมน้ำมันที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกมันสำปะหลังอยู

                       มีเนื้อที่ 527,289 ไร สวนใหญอยูในเขตอำเภอโพนพิสัย อำเภอเฝาไร และอำเภอเมืองหนองคาย
                       เกษตรกรยังคงปลูกมันสำปะหลังไดผลดี ควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการน้ำ เชน ชลประทาน

                       แหลงน้ำในไรนานอกเขตชลประทาน ใชปจจัยการผลิตในอัตราและชวงเวลาที่เหมาะสม สนับสนุน
                       พันธุปาลมน้ำมันที่ไดรับการรับรอง จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรผูปลูกปาลมน้ำมัน พื้นที่ในเขตนี้

                       มีความเหมาะสมสำหรับการเกษตรแบบผสมผสานโดยเฉพาะในชวงที่ปาลมน้ำมันอายุนอยยังไมให
                       ผลผลิต หรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนำวา
                       ไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หรือถาตองการเปลี่ยนชนิดพืชควรเปนพืชที่มีผลตอบแทนดีกวา


                             3) พื้นที่ปลูกปาลมน้ำมันในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกร
                       ยังคงใชที่ดินปลูกปาลมน้ำมันอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาน้ำทวมซ้ำซาก ขาดน้ำ ผลผลิตต่ำ
                       ควรใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทำกินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับโครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบำรุงดิน

                       สนับสนุนแหลงน้ำ ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม และปาลมน้ำมันเปนพืชยืนตน
                       อายุประมาณ 20 - 25 ป การปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่นจึงเปนเรื่องยากในกรณีที่ปาลมน้ำมัน

                       หมดอายุ ลงทุนนอยกวาและใหผลตอบแทนที่ดี สงเสริมสินคาเกษตรชนิดอื่น ๆ ที่สามารถปลูก เลี้ยง หรือ
                       อยูรวมกันไดในสวนปาลมน้ำมัน ตามความเหมาะสมในแตละพื้นที่ ทั้งนี้เกษตรกรสามารถเขาโครงการ

                       บริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41