Page 33 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดหนองคาย
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               26







                       4  แนวทางการสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                         4.1  ขาว
                             1) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่ 126,264 ไร

                       อยูในเขตอำเภอเมืองหนองคาย อำเภอทาบอ อำเภอศรีเชียงใหม อำเภอโพธิ์ตาก อำเภอโพนพิสัย
                       อำเภอสีชมพู และกระจายตัวในพื้นที่เล็กๆ ในอำเภอสระใคร อำเภอรัตนวาป อำเภอสังคม ทั้งนี้

                       คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนพื้นที่เปนแหลงผลิตขาวที่สำคัญ
                       ของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ำชลประทาน การจัดการดิน ปุย พันธุขาว มีการรวมกลุมเปน

                       เกษตรแปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจรดานการตลาดในและตางประเทศการแปรรูป
                       แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทำมาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี
                       (Good Agricultural Practice: GAP) และเนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง การปลูกพืชหลังนาจะชวย

                       ใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น และเปนการปรับปรุงบำรุงดิน ทั้งนี้ภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับ
                       เกษตรกรโดยแนะนำวาพื้นที่นี้เปนพื้นที่ที่มีความเหมาะสมตอการปลูกขาวจึงไมควรปรับเปลี่ยนไป

                       ปลูกพืชชนิดอื่น หากขาวราคาไมดีถาตองการเปลี่ยนชนิดพืชควรเปนพืชไร เพื่อที่วาในอนาคตจะได
                       กลับมาทำนาไดอีก

                             2) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่มากถึง

                       402,421 ไร สวนใหญอยูในเขตอำเภอโพนพิสัย อำเภอเมืองหนองคาย อำเภอเฝาไร อำเภอทาบอ
                       อำเภอรัตนวาป อำเภอสระใคร และกระจายตัวในพื้นที่เล็กๆ ในอำเภอศรีเชียงใหม อำเภอสังคม

                       อำเภอโพธิ์ตาก เปนพื้นที่ปลูกขาวที่มีขอจำกัดไมมากนัก เกษตรกรยังคงปลูกขาวไดผลดี หลายแหง
                       ประสบปญหาขาดน้ำในบางชวงของการเพาะปลูก ควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการน้ำ เชน

                       ชลประทาน จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทำงานที่อื่นจะลดลง
                       และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสำหรับการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแมนยำ หรือ
                       เกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนำวาไมควร

                       ปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากขาวราคาไมดีและตองการปรับเลี่ยนการผลิตควรเปนพืชไร
                       เพื่อที่วาในอนาคตยังสามารถกลับมาทำนาไดอีก

                             3) พื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใช

                       ที่ดินปลูกขาวอยู มีประมาณกวาลานไร ซึ่งประสบปญหาน้ำทวม ซ้ำซาก ขาดน้ำ ผลผลิตต่ำ ควรให
                       การชวยเหลือเกษตรกรที่ทำกินในพื้นที่นี้ เนื่องจากเปนพื้นที่ไมเหมาะสม โดยสนับสนุนการปรับ

                       โครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบำรุงดิน สนับสนุนแหลงน้ำ ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความ
                       เหมาะสม และใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการ

                       บริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38