Page 34 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดหนองคาย
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               27







                             (4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสำหรับการปลูกขาว แตปจจุบันเกษตรกรไมไดใช
                       พื้นที่ปลูกขาว เชน ปลูกเปนพืชไร หากในอนาคตขาวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาวได
                       เหมือนเดิม แตหากปลูกเปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจ

                       สงเสริมในเรื่องของการทำเกษตรรูปแบบอื่น เชน ทำการเกษตรแบบผสมผสานทดแทน

                         4.2  ยางพารา
                               1) พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกยางพาราอยู มีเนื้อที่

                       21,666 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอำเภอสังคม อำเภอโพธิ์ตาก และอำเภอศรีเชียงใหม ตามลำดับ ทั้งนี้
                       ตามมาตรการยุทธศาสตรยางพาราระยะ 20 ป ( พ.ศ. 2560 - 2579) เนนใหมีการเพิ่มผลผลิต

                       ยางพาราตอไรตอป จากปกติเฉลี่ยอยูที่ 224 กิโลกรัมตอไร เปน 360 กิโลกรัมตอไร ภายในป 2579 นั้น
                       ควรมีการจัดการที่เหมาะสมในเรื่องตาง ๆ ไดแก การคัดเลือกพันธุใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และ

                       ตานทานโรค การปรับปรุงบำรุงดิน การใสปุยที่ถูกตองและมีประสิทธิภาพ การปลูกพืชแซมและ
                       พืชคลุมดินใหเหมาะสมเพราะมีผลตอการเจริญเติบโตของยางพารา การบำรุงรักษา การใสปุยการตัดแตงกิ่ง

                       และเทคนิคการกรีดยางใหมีปริมาณน้ำยางสูงมีคุณภาพและตรงตามมาตรฐาน การสงเสริมให
                       เกษตรกรชาวสวนยางในพื้นที่มีความเขมแข็ง มีการบริหารงานแบบมืออาชีพและสามารถถายทอด
                       กิจการใหกับคนรุนใหม และการพัฒนาการตลาดในพื้นที่ เชน จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูป

                       ผลิตภัณฑ

                               2) พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกยางพาราอยู

                       มีเนื้อที่ 217,289 ไร สวนใหญอยูในเขตอำเภอโพนพิสัย อำเภอเฝาไร อำเภอรัตนวาป และอำเภอสังคม
                       เกษตรกรยังคงปลูกยางพาราไดผลดี ควรสนับสนุนใหมีเพิ่มผลผลิตยางพารา โดยเนนการจัดการที่

                       เหมาะสมในเรื่องตาง ๆ เชนเดียวกันกับพื้นที่เหมาะสมสูง โดยเฉพาะการปรับปรุงบำรุงดิน
                       การพัฒนาการตลาดในพื้นที่ เชน จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑในพื้นที่ การเพิ่มเติม

                       ชองทางจัดจำหนาย โดยเนนการแปรรูปยาง หรือไมยางพาราเพิ่มมากขึ้นซึ่งอาจเนนจากชุมชนที่
                       เขมแข็งเปนพื้นที่ตนแบบ และการสงเสริมใหมีการโคนยางพาราที่มีอายุตั้งแต 25 ป และ

                       ปลูกยางพาราทดแทนในพื้นที่เดิมเชนกันกับพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง

                             3) พื้นที่ปลูกยางพาราในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใช
                       ที่ดินปลูกยางพาราอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาน้ำทวมซ้ำซาก ขาดน้ำ ผลผลิตต่ำ ควรสงเสริมใหมี

                       การโคนยางพาราที่มีอายุตั้งแต 25 ป และหาพืชอื่นทดแทน เชน สงเสริมใหปลูกไมผล มะพราว ไผหวาน
                       มันสำปะหลัง ยาสูบ แตงโม พืชไร และพืชผักตาง ๆ ทดแทน การจัดหาตลาดใหกับเกษตรกรในการ
                       ปลูกพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน และใหการชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่

                       ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตพืชผัก บริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่
                       เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39