Page 30 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดหนองคาย
P. 30
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
23
ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวา พื้นที่ที่ควร
พิจารณาใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกปาลมน้ำมัน คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 2,333 ไร
บริเวณที่ปลูกปาลมน้ำมัน (S3) 181 ไร (ตารางที่ 10)
ตารางที่ 10 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตปาลมน้ำมัน
ขาว (ไร) ยางพารา (ไร)
อำเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
ทาบอ - - - - - -
เฝาไร - - - - - -
โพธิ์ตาก - - - - - -
โพนพิสัย - - - - - -
เมืองหนองคาย - - - - - -
รัตนวาป 1,869 464 2,333 181 - 181
ศรีเชียงใหม - - - - - -
สระใคร - - - - - -
สังคม - - - - - -
รวม 1,869 464 2,333 - - 181
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ซึ่งจังหวัดหนองคายมีเฉพาะ
พื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกรปลูกปาลมน้ำมันตอไปเนื่องจากเปน
พื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่
ดังกลาวขางตน สามารถนำไปสูการตอยอดโครงการที่สำคัญตาง ๆ ได เชน ระบบสงเสริมการเกษตร
แบบแปลงใหญ เกษตรแมนยำ เปนตน
(2) พื้นที่ปลูกปาลมน้ำมันในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
ปาลมน้ำมันในที่ดินที่มีขอจำกัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกปาลมน้ำมัน เชน ความ
อุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง ความชื้น โดยอยูในอำเภออำเภอรัตนวาปทั้งหมด
(3) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกปาลมน้ำมัน
มีตนทุนที่ต่ำ และใหผลตอบแทนที่ดีกวา เปนตน แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย