Page 22 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดหนองคาย
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               15







                                     (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุน
                       ใหเขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกยางพารา
                       มีตนทุนที่ต่ำ และใหผลตอบแทนที่ดีกวา เปนตน แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย


                         2.3  ออยโรงงาน
                             ออยโรงงานเปนพืชเศรษฐกิจหลักของหนองคายในลำดับที่ 3 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก
                       หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 ถึง 11)

                             1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูก

                               ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 178,425 ไร คิดเปนรอยละ 9.65 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอโพนพิสัย 33,780 ไร อำเภอเมืองหนองคาย 29,061 ไร และ
                       อำเภอสังคม 28,274 ไร
                               ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 253,129 ไร คิดเปนรอยละ
                       13.69 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอรัตนวาป 53,758 ไร อำเภอโพธิ์ตาก 43,909 ไร
                       และอำเภอเฝาไร 34,645 ไร

                               ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 242,118 ไร คิดเปนรอยละ
                       13.10  ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอโพนพิสัน 69,699 ไร อำเภอเฝาไร 49,456 ไร
                       และอำเภอทาบอ 42,970 ไร
                               ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,174,236 ไร

                             2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกออยโรงงานในปจจุบัน ซึ่งจำแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ไดดังนี้

                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 18,714 ไร คิดเปนรอยละ 10.49 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       พบมากอยูในอำเภอสระใคร 14,466 ไร อำเภอทาบอ 2,216 ไร และอำเภอโพนพิสัย 1,235 ไร
                               (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 26,896 ไร คิดเปนรอยละ 10.63 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง พบมากอยูในอำเภอสระใคร 12,570 ไร อำเภอทาบอ 8,502 ไร และอำเภอโพนพิสัย
                       3,454 ไร
                               (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 14,965 ไร คิดเปนรอยละ 6.18 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       เล็กนอย พบมากอยูในอำเภอทาบอ (8,595 ไร) อำเภอสระใคร 4,137 ไร อำเภอเมืองหนองคาย
                       1,817 ไร


                             3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกออยโรงงานแตไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสำหรับการปลูกออยโรงงาน และพื้นที่ปลูกออยโรงงานในชั้นความ
                       เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวา จังหวัดหนองคายมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1)
                       และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 385,944 ไร กระจายอยูทั่วทุกอำเภอ โดยอำเภอที่มีพื้นที่

                       ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อำเภอโพนพิสัย 63,501 ไร อำเภอรัตนวาป 57,679 ไร อำเภอเฝาไร
                       52,591 ไร อำเภอศรีเชียงใหม 49,677 ไร อำเภอสังคม 48,549 ไร และอำเภอโพธิ์ตาก 43,799 ไร โดยมี
                       รายละเอียดดังนี้
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27