Page 21 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดหนองคาย
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               14







                               ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
                       ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                               เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควร

                       พิจารณาใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพารา คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 56,688 ไร
                       และบริเวณที่ปลูกปาลมน้ำมัน (S3+N) 7,168 ไร (ตารางที่ 6)

                       ตารางที่ 6  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตยางพารา

                                                  ขาว (ไร)                    ปาลมน้ำมัน (ไร)
                           อำเภอ
                                         S3          N          รวม        S3         N         รวม

                       ทาบอ              3,275         8       3,283          5       277       282

                       เฝาไร             5,269        96       5,365        365        59       424

                       โพธิ์ตาก            2,902       575       3,477          -       610       610

                       โพนพิสัย           10,113       857      10,970       2,166      417      2,583


                       เมืองหนองคาย        1,322         1       1,323        198        14       212

                       รัตนวาป            6,584       974       7,558        344        81       425

                       ศรีเชียงใหม        3,912       486       4,398         20      1,328     1,348

                       สระใคร             10,534          -     10,534          -         -          -

                       สังคม               9,661       119       9,780          -      1,114     1,114


                            รวม          53,572       3,116     56,688      3,098     3,900      6,998

                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให

                       เกษตรกรปลูกยางพาราตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและได
                       ผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกยางพาราในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนำไปสูการตอยอดโครงการ
                       ที่สำคัญตาง ๆ ได เชน ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยำ เปนตน

                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกยางพารา
                       ในที่ดินที่ไมมีขอจำกัดทางกายภาพตอการปลูกยางพารา ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกยางพาราที่
                       สำคัญของจังหวัด โดยกระจายอยูในอำเภอเมืองหนองคาย อำเภอศรีเชียงใหม และอำเภอสังคม เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
                       ยางพาราในที่ดินที่มีขอจำกัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกยางพารา เชน ความอุดมสมบูรณของดิน

                       ความเปนกรดเปนดาง และแหลงน้ำ โดยกระจายอยูในอำเภอโพนพิสัย อำเภอเฝาไร และอำเภอรัตนวาป
                       เปนตน
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26