Page 31 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเลย
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               24






                       ตารางที่ 9  (ต่อ)

                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
                          อำเภอ        ประเภทพื้นที่
                                                          S1        S2         S3        N         รวม

                                                            1,305    301,569    41,912   142,807    487,593
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   152    20,067     3,581      3,918    27,718
                         วังสะพุง
                                  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)   (11.65%)   (6.65%)   (8.54%)   (2.74%)   (5.68%)
                                                            1,153   281,502         -         -    282,655
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
                                                          (88.35%)   (93.35%)       -         -   (57.97%)
                                                               -     51,983     10,749    51,095    113,827
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                               -   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ    -      1,377      361       406       2,144
                         หนองหิน
                                  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)     -    (2.65%)    (3.36%)   (0.79%)    (1.88%)
                                                               -     50,606        -          -     50,606
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
                                                               -   (97.35%)        -          -   (44.46%)
                                                               -     125,763    19,463    41,213    186,439
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                               -   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ    -      2,597     1,047      423       4,067
                         เอราวัณ
                                  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)     -    (2.06%)    (5.38%)   (1.03%)    (2.18%)
                                                               -    123,166        -          -    123,166
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
                                                               -   (97.94%)        -          -   (66.06%)
                                                            3,052   1,298,363   549,175   863,204   2,713,794
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                         รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   222   105,032    64,799    79,695    249,748
                         จังหวัด  เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)   (7.27%)   (8.09%)   (11.80%)   (9.23%)   (9.20%)
                                                            2,830  1,193,331       -         -   1,196,161
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
                                                         (92.73%)   (91.91%)       -         -    (44.08%)

                             ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช

                       ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
                             เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
                       พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N)

                       139,170 ไร่ และยางพารา (S3) 44,528 ไร่ (ตารางที่ 10)
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36