Page 26 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดมุกดาหาร
P. 26
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
19
ตารางที่ 9 (ต่อ)
เนื อที่ชั นความเหมาะสม (ไร่)
อ าเภอ ประเภทพื นที่
S1 S2 S3 N รวม
389 151,198 8,784 48,499 208,870
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 152 14,945 774 15,871
นิคมค าสร้อย -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (39.07%) (9.88%) (8.81%) (7.60%)
237 136,253 136,490
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(60.93%) (90.12%) (65.35%)
42 91 33,752 28,888 62,773
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 2,234 2,234
หว้านใหญ่ - - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (6.62%) (3.56%)
42 91 133
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(100.00%) (100.00%) (0.21%)
127 45,315 8,105 44,742 98,289
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 127 5,887 513 6,527
หนองสูง -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (100.00%) (12.99%) (6.33%) (6.64%)
39,428 39,428
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(87.01%) (40.11%)
12,573 767,914 290,676 361,484 1,432,647
พื นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั ง พื นที่เพาะปลูกในชั นความ 342 59,941 49,529 194 110,006
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (2.72%) (7.81%) (17.04%) (0.05%) (7.68%)
12,231 707,972 720,203
พื นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(97.28%) (92.19%) (50.27%)
หมายเหตุ: n.s. คือ มีจ านวนน้อยมากไม่มีความส าคัญทางสถิติ
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมันส าปะหลัง คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 176,713 ไร่
และพื้นที่ปลูกอ้อยโรงงาน (S3) 2,154 ไร่ (ตารางที่ 10)