Page 22 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดมุกดาหาร
P. 22
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
15
ตารางที่ 7 (ต่อ)
เนื อที่ชั นความเหมาะสม (ไร่)
อ าเภอ ประเภทพื นที่
S1 S2 S3 N รวม
5,591 43,864 83 13,235 62,773
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 54 3,493 83 3,630
หว้านใหญ่ -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.97%) (7.96%) (100.00%) (5.78%)
5,537 40,371 45,908
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(99.03%) (92.04%) (73.13%)
78,659 8,186 11,605 98,450
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 7,667 407 8,074
หนองสูง - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (9.75%) (4.97%) (8.20%)
70,992 70,992
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(90.25%) (72.11%)
15,495 1,141,039 68,329 207,963 1,432,826
พื นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั ง พื นที่เพาะปลูกในชั นความ 1,011 169,772 7,413 346 178,542
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (6.52%) (14.88%) (10.85%) (0.17%) (12.46%)
14,484 971,267 985,751
พื นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(93.48%) (85.12%) (68.80%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพารา คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 336,913 ไร่
พื้นที่ปลูกมันส าปะหลัง (S3) 39,996 ไร่ และพื้นที่ปลูกอ้อยโรงงาน (S3) 1,067 ไร่ (ตารางที่ 8)