Page 23 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดมุกดาหาร
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               16








                       ตารางที่ 8  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตยางพารา

                                                ข้าว (ไร่)          มันส าปะหลัง (ไร่)   อ้อยโรงงาน (ไร่)
                           อ าเภอ
                                         S3        N      รวม        S3    N  รวม        S3  N  รวม

                        เมืองมุกดาหาร  106,582  2,568  109,150  9,322  -  9,322  1,067  -  1,067
                        ค าชะอี         58,947  2,042  60,989         717  -      717        -  -       -

                        ดงหลวง          31,921  2,280  34,201  27,849  -  27,849             -  -       -

                        ดอนตาล          51,537       -  51,537          1  -        1        -  -       -
                        นิคมค าสร้อย    33,855     201  34,056          1  -        1        -  -       -
                        หว้านใหญ่       21,227       -  21,227  2,106  -  2,106              -  -       -

                        หนองสูง         24,908     845  25,753          -  -         -       -  -       -

                            รวม        328,977  7,936  336,913  39,996  -  39,996  1,067  -  1,067

                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้เกษตรกร
                       ปลูกยางพาราต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิตที่มี

                       คุณภาพดี ซึ่งการปลูกยางพาราในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้น สามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการที่ส าคัญ
                       ต่าง ๆ ได้ เช่น ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น
                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือ พื้นที่ปลูกยางพาราในที่ดิน
                       ที่ไม่มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกยางพารา ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกยางพาราที่ส าคัญ

                       ของจังหวัด พบมากอยู่ในอ าเภอดงหลวง อ าเภอค าชะอี และอ าเภอหว้านใหญ่
                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือ พื้นที่ปลูกยางพารา
                       ในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกยางพารา เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                       ความเป็นกรดเป็นด่าง แหล่งน้ า เป็นต้น พบมากอยู่ในอ าเภอเมืองมุกดาหาร อ าเภอดงหลวง และ

                       อ าเภอนิคมค าสร้อย
                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้
                       เข้าโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูกยางพารา
                       มีต้นทุนที่ต่ า และให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เป็นต้น แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28