Page 19 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดมุกดาหาร
P. 19
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
12
ตารางที่ 6 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตอ้อยโรงงาน
ข้าว (ไร่) มันส าปะหลัง (ไร่)
อ าเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
เมืองมุกดาหาร 83,144 1,631 84,775 8,927 - 8,927
ค าชะอี 21,996 2,042 24,038 709 - 709
ดงหลวง 24,542 2,277 26,819 27,740 - 27,740
ดอนตาล 42,922 43 42,965 1 - 1
นิคมค าสร้อย 25,659 217 25,876 - - -
หว้านใหญ่ 12,704 - 12,704 1,731 - 1,731
หนองสูง 9,177 845 10,022 - - -
รวม 220,144 7,055 227,199 39,108 - 39,108
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้เกษตรกร
ปลูกอ้อยโรงงานต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิตที่มี
คุณภาพดี ซึ่งการปลูกอ้อยโรงงานในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้น สามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการที่ส าคัญ
ต่าง ๆ ได้ เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น
พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือ พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานใน
ที่ดินที่ไม่มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกอ้อยโรงงาน ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกอ้อยโรงงานที่
ส าคัญของจังหวัด พบมากอยู่ในอ าเภอหว้านใหญ่ อ าเภอดงหลวง อ าเภอนิคมค าสร้อย และอ าเภอ
เมืองมุกดาหาร
พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือ พื้นที่ปลูก
อ้อยโรงงานในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกอ้อยโรงงาน เช่น ความอุดมสมบูรณ์
ของดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง แหล่งน้ า เป็นต้น พบมากอยู่ในอ าเภอเมืองมุกดาหาร อ าเภอดอนตาล
และอ าเภอนิคมค าสร้อย
(2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้
เข้าโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูกอ้อยโรงงาน มีต้นทุน
ที่ต่ า และให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เป็นต้น แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย