Page 18 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดมุกดาหาร
P. 18
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
11
ตารางที่ 5 (ต่อ)
เนื อที่ชั นความเหมาะสม (ไร่)
อ าเภอ ประเภทพื นที่
S1 S2 S3 N รวม
1,316 149,434 588 57,337 208,675
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 128 30,602 588 18 31,336
นิคมค าสร้อย
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (9.73%) (20.48%) (100.00%) (0.03%) (15.02%)
1,188 118,832 120,020
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(90.27%) (79.52%) (57.52%)
6,441 28,256 28,071 62,768
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 988 3,834 4,822
หว้านใหญ่ - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (15.34%) (13.57%) (7.68%)
5,453 24,422 29,875
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(84.66%) (86.43%) (47.60%)
45,410 347 52,695 98,452
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 4,160 133 4,293
หนองสูง - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (9.16%) (38.33%) (4.36%)
41,250 41,250
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(90.84%) (41.90%)
15,216 995,121 10,917 411,331 1,432,585
พื นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั ง พื นที่เพาะปลูกในชั นความ 1,375 233,403 6,069 34 240,881
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (9.04%) (23.45%) (55.59%) (0.01%) (16.81%)
13,841 761,718 775,559
พื นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(90.96%) (76.55%) (54.14%)
หมายเหตุ: n.s. คือ มีจ านวนน้อยมากไม่มีความส าคัญทางสถิติ
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกอ้อยโรงงาน คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 227,199 ไร่
พื้นที่ปลูกมันส าปะหลัง (S3) 39,108 ไร่ (ตารางที่ 6)