Page 20 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดมุกดาหาร
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               13








                         2.3  ยางพารา
                             ยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดมุกดาหารในล าดับที่ 3 จากฐานข้อมูลในแผนที่
                       เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 – 11)

                             1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื นที่ปลูกยางพารา
                               ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) 15,495 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.08 ของพื้นที่

                       ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยู่ในอ าเภอดงหลวง 7,281 ไร่ อ าเภอหว้านใหญ่ 5,591 ไร่ และอ าเภอ
                       นิคมค าสร้อย 1,316 ไร่
                               ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,141,039 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       79.65 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยู่ในอ าเภอเมืองมุกดาหาร 391,651 ไร่ อ าเภอดอนตาล

                       203,071 ไร่ และอ าเภอนิคมค าสร้อย 161,297 ไร่
                               ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 68,329 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.76
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยู่ในอ าเภอดงหลวง 18,957 ไร่ อ าเภอเมืองมุกดาหาร 17,733 ไร่
                       และอ าเภอนิคมค าสร้อย 12,220 ไร่

                               ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 207,963 ไร่

                             2) การวิเคราะห์พื นที่ปลูกยางพาราในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ได้ดังนี้
                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) เนื้อที่ 1,011 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 6.52 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       พบมากอยู่ในอ าเภอดงหลวง 806 ไร่ อ าเภอค าชะอี 80 ไร่ และอ าเภอหว้านใหญ่ 54 ไร่
                               (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 169,772 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 14.88 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง พบมากอยู่ในอ าเภอเมืองมุกดาหาร 42,314 ไร่ อ าเภอดงหลวง 39,304 ไร่ และ
                       อ าเภอนิคมค าสร้อย 38,200 ไร่
                               (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 7,413 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 10.85 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กน้อย พบมากอยู่ในอ าเภอดงหลวง 2,639 ไร่ อ าเภอเมืองมุกดาหาร 1,493 ไร่ และอ าเภอ
                       นิคมค าสร้อย 1,225 ไร่
                               (4) พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 346 ไร่

                             3) พื นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกยางพาราแต่ยังไม่มีการปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับปลูกยางพารา และพื้นที่เพาะปลูกยางพาราในชั้น
                       ความเหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) พบว่า จังหวัดมุกดาหารมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 985,751 ไร่ โดยกระจายอยู่
                       ทั่วทุกอ าเภอ อ าเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ได้แก่ อ าเภอมุกดาหาร 350,333 ไร่

                       รองลงมา ได้แก่ อ าเภอดอนตาล 175,758 ไร่ อ าเภอนิคมค าสร้อย 124,388 ไร่ อ าเภอดงหลวง
                       116,920 ไร่ ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้
                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 14,484 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 93.48 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอ าเภอดงหลวง 6,475 ไร่ อ าเภอหว้านใหญ่ 5,537 ไร่ และอ าเภอนิคมค าสร้อย

                       1,291 ไร่
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25