Page 21 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               14







                           2.3  มันสำปะหลัง
                                  มันสำปะหลังพืชเศรษฐกิจหลักของอุทัยธานีในลำดับที่ 3 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตร

                       เชิงรุก หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 - 11)
                                     1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง

                                     ระดับที่ 1 เปนพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 44,210 ไร คิดเปนรอยละ 2.22 ของพื้นที่

                       ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอำเภอสวางอารมณ 16,797 ไร อำเภอบานไร 14,374 ไร และ
                       อำเภอลานสัก 12,255 ไร

                                     ระดับที่ 2 เปนพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 926,557 ไร คิดเปนรอยละ 46.57
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอำเภอบานไร 351,288 ไร อำเภอลานสัก 228,574 ไร

                       และอำเภอหวยคต 98,922 ไร

                                     ระดับที่ 3 เปนพื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 202,017 ไร คิดเปนรอยละ 10.15 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอำเภอบานไร 114,929 ไร อำเภอสวางอารมณ 31,478 ไร และ

                       อำเภอลานสัก 25,752 ไร

                                     ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 816,945 ไร
                                    2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังในปจจุบัน ซึ่งจำแนกตามชั้นความเหมาะสม

                       ของที่ดิน ไดดังนี้

                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 17,300 ไร คิดเปนรอยละ 39.13 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง กระจายตัวมากอยูในอำเภอสวางอารมณ 11,128 ไร อำเภอลานสัก 4,606 ไร และอำเภอ

                       บานไร 1,002 ไร
                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 171,491 ไร คิดเปนรอยละ 18.51 ของ

                       พื้นที่ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอำเภอลานสัก 83,582 ไร อำเภอบานไร 46,173 ไร

                       และอำเภอสวางอารมณ 20,081 ไร
                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 30,184 ไร คิดเปนรอยละ 14.94 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอำเภอบานไร 13,374 ไร อำเภอลานสัก 9,091 ไร และอำเภอ
                       สวางอารมณ 4,195 ไร

                                     (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,709 ไร

                                    3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมันสำปะหลังแตไมใชพื้นที่
                       ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง และพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังใน

                       ชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดอุทัยธานีมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความ

                       เหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 781,976 ไร กระจายอยูทั่วทุกอำเภอ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26