Page 20 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               13







                                   เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควร
                       สงเสริมใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกออยโรงงาน คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 86,005 ไร ปาลม

                       น้ำมัน (N) 5,537 ไร และยางพารา (S3) 12,717 ไร (ตารางที่ 6)


                       ตารางที่ 6  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตออยโรงงาน

                                             ขาว                 ปาลมน้ำมัน             ยางพารา
                          อำเภอ
                                      S3      N      รวม      S3      N      รวม     S3      N      รวม
                        ทัพทัน      18,423  7,144  25,567        -       -       -    206       -    206
                        ลานสัก      13,753     740  14,493       -   2,091    2,091    853      -    853

                        หวยคต       4,862      21  4,882        -   1,300    1,300   3,318     -  3,318
                        บานไร      1,224      32  1,255        -   1,211    1,211   7,295     -  7,295
                        หนองฉาง     13,649     904  14,553       -       2       2    872       -    872

                        สวางอารมณ   21,727   183  21,910       -     933    933      97       -     97
                        หนองขาหยาง    630      85     716       -       -       -     76       -     76

                        เมืองอุทัยธานี   1,655   973  2,628      -       -       -      -       -       -
                        รวม         75,923   10,082   86,005     -  5,537  5,537  12,717        -  12,717


                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร

                       ปลูกออยโรงงานตอไป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิตที่มี

                       คุณภาพดี ซึ่งการปลูกออยโรงงานในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนำไปสูการตอยอดโครงการที่สำคัญตาง ๆ ได
                       เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยำ เปนตน

                                 พื้นที่ปลูกออยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกออยโรงงานใน

                       ที่ดินที่ไมมีขอจำกัดทางกายภาพตอการปลูกออยโรงงาน ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกออยโรงงานที่สำคัญ
                       ของจังหวัด โดยกระจายอยูอำเภอลานสัก อำเภอทัพทัน อำเภอหนองฉาง เปนตน

                                 พื้นที่ปลูกออยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
                       ออยโรงงานในที่ดินที่มีขอจำกัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกออยโรงงาน เชน ความอุดมสมบูรณ

                       ของดิน ความเปนกรดเปนดาง ความชื้น โดยกระจายอยูในอำเภอกระนวน อำเภอลานสัก อำเภอบานไร
                       อำเภอสวางอารมณ เปนตน

                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา

                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกออยโรงงาน มีตนทุนที่ต่ำ
                       และใหผลตอบแทนที่ดีกวา เปนตน แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25