Page 26 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               19








                                เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควร
                       พิจารณาใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N)
                       65,795 ไร (ตารางที่ 8)

                       ตารางที่ 8  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว

                                                                       ขาว (ไร)
                               อําเภอ
                                                        S3                N                  รวม
                           เมืองอุตรดิตถ             8,048               89               8,137

                           ตรอน                       4,502                 -              4,502
                           ทองแสนขัน                 13,331              126              13,457

                           ทาปลา                     1,520                 -              1,520
                           น้ําปาด                    9,396             1309              10,705

                           บานโคก                    1,914             2287               4,201
                           พิชัย                     16,508                3              16511
                           ฟากทา                     5,361              900                6261

                           ลับแล                        501                 -                501
                                รวม                  61,081            4,714              65,795


                              4) แนวทางการจัดการ

                                (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวตอไป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิต
                       ที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการ
                       ที่สําคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน

                                  พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวซึ่งควรสงวนไวเปน
                       แหลงขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สําคัญของจังหวัด กระจายอยูในอําเภอเมืองอุตรดิตถ อําเภอน้ําปาด และ
                       อําเภอตรอน

                                  พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว เชน
                       ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง ความชื้น กระจายอยูในอําเภอน้ําปาด อําเภอทองแสนขัน
                       และอําเภอบานโคก

                                (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา
                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
                       มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31