Page 29 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำพูน
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               22








                                 (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา
                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกมันสำปะหลัง

                       มีตนทุนที่ต่ำ และใหผลตอบแทนที่ดีกวา เปนตน แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย


                       3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด


                         3.1  ลำไย (GI) ที่ไปปลูกในจังหวัดลำพูน เนื่องจากจังหวัดลำพูนมีสภาพภูมิประเทศที่ดี

                       ในลุมแมน้ำใหญหลายสาย ถือวาเปนพื้นที่ที่ปลูกลำไยดั้งเดิมและสำคัญที่สุดของประเทศโดยมีพื้นที่

                       ปจจุบันลำไยมีหลายสายพันธุ เชน ลำไยกะโหลก เปนพันธุลำไยที่ใหผลขนาดใหญมีเนื้อหนา รสหวาน
                       มีหลายสายพันธุคือ พันธุสีชมพู ผลใหญ เนื้อหนา เมล็ดเล็ก เนื้อมีสีชมพูเรื่อ ๆ รสดีมากที่สุด
                       พันธุตลับนาค ผลใหญ เนื้อหนา เมล็ดเล็ก หวานกรอบแหง เปลือกบาง พันธุเบี้ยวเขียว หรืออีเขียว

                       ผลใหญกลมเบี้ยว เนื้อหนา เมล็ดเล็ก หวานกรอบ เนื้อลอน นับวาเปนพืชที่ทำรายได ใหแกเกษตรกรมาก

                       ทั้งในรูปของผลสด และ ลำไยแปรรูป ตลาดใหญของลำไยสดไดแก ฮองกง สิงคโปร สวนลำไยแหงทั้ง

                       เปลือกนั้นสงออกไปยังประเทศจีน และหลายประเทศ

                              3.2    มะมวง   เปนไมยืนตนขนาดใหญ ตนเปนทรงพุมทึบ ผลมีลักษณะรูปทรงรี ผิวเปลือกบาง

                       ผลออนมีสีเขียว มีรสชาติเปรี้ยว มียางสีขาว ผลสุกมีสีเหลือง เนื้อสุกมีสีเหลือง มีเนื้อแนนนุมฉ่ำน้ำ
                       มีรสชาติหวานฉ่ำ มีกลิ่นหอม มีเมล็ดใหญแข็งแบนรียาว สีขาวนวล อยูขางในเนื้อ  มีถิ่นกำเนิดใน

                       ประเทศอินเดีย มีการปลูกในหลายประเทศที่มีอากาศรอน มะมวงเปนผลไมพื้นบานของไทย เปนที่

                       นิยมปลูกกันมาก มีการปลูกหลากหลายสายพันธุ มะมวงเปนผลไมพื้นบานของไทย ปลูกกันมากใน
                       ทุกๆ ภาค มีหลากหลายสายพันธุ ไดแก อกรอง น้ำดอกไม แรด ฟาลั่น เขียวเสวย โชติอนันต แกว


                              3.3    หอมแดง  เกษตรกรสามารถเก็บผลผลิตดอกหอมแดงจำหนายนอกฤดู ในราคากิโลกรัม
                       ละ 100-300 บาท ภายใตการควบคุมการใชสารเคมีทางการเกษตรอยางถูกตอง และปลอดภัยตอ

                       ผูบริโภค นวัตกรรมการผลิตหอมแดงและดอกหอมแดงนอกฤดู ของคณะเกษตรศาสตร
                       มหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนประโยชนตอเกษตรกรโดยตรง ถูกบรรจุเปนสวนหนึ่งของโครงการ

                       เกษตรเพื่ออาหารสุขภาพดีวิถีลานนา ของกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนบน  1 (เชียงใหม แมฮองสอน

                       ลำปาง และลำพูน)

                              3.4    กระเทียม เปนพืชหัวสกุลเดียวกับพวกหอมหัวใหญ หอมแดง กุยชาย ตนหอม

                       กระเทียมเปนพันธุไมลมลุก ตนสูงประมาณ  30 - 45 เซนติเมตร มีหัวอยูใตดิน กระเทียมมิไดขึ้น
                       เองตามธรรมชาติจากหัวหรือเมล็ด แตตองอาศัยคนปลูกโดยใชกลีบกระเทียมที่เตรียมมาเพาะในดิน

                       เทานั้น การเจริญเติบโตของตนกระเทียมที่สำคัญอยูที่หัวที่อยูใตดินและเติบโตขึ้นโดยมีกลีบประมาณ
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34