Page 33 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำพูน
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               26








                       เหมาะสม และใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือหรือเขา
                       โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน

                             3) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสำหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว แตปจจุบัน

                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปน

                       พืชไร เชน ขาว ออยโรงงาน มันสำปะหลัง เปนตน ถาในอนาคตขาวโพดเลี้ยงสัตวราคาดี เกษตรกรอาจ

                       กลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดเหมือนเดิม แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาวโพด
                       เลี้ยงสัตวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจสงเสริมในเรื่องของการทำเกษตรรูปแบบอื่น เชน ทำการเกษตร

                       แบบผสมผสาน แตทั้งนี้ตองพิจารณาตนทุนการผลิตและการตลาดรวมดวย


                         4.4  มันสำปะหลัง

                             1) พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกมันสำปะหลัง
                       อยู มีเนื้อที่ 5,593 ไร สวนใหญอยูในเขตอำเภอลี้ อำเภอปาซาง และอำเภอทุงหัวชาง เกษตรกรยังคง

                       ปลูกมันสำปะหลังไดผลดี หลายแหงประสบปญหาโครงสรางของดินหรือดินดาน ทั้งนี้ควรพัฒนา

                       ศักยภาพของพื้นที่ใหมากขึ้น ในเรื่องของคุณภาพดิน และ ทำการตรวจวิเคราะหคุณภาพดินอยูเสมอ

                       สงเสริมใหมีการใสปุยตามคาวิเคราะหดิน ซึ่งอาจตองใชปุยสั่งตัด สรางความรูความเขาใจใหกับ

                       เกษตรกรในการจัดการพื้นที่ การปลูก การดูแลรักษา การปองกันโรค แมลงศัตรูพืช และการเก็บเกี่ยว

                       สงเสริมการใชทอนพันธุที่ตานทานโรค และใหผลผลิตสูง พัฒนาระบบน้ำหยดและการใชน้ำจากแหลง

                       น้ำในพื้นที่ ใหมีการใชประโยชนกับมันสำปะหลังใหมากที่สุด สงเสริมเกษตรกรแปรรูปมันสำปะหลัง
                       เบื้องตนเพื่อเพิ่มมูลคา เชน การแปรรูปมันเสนสะอาด ประชาสัมพันธใหเกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวงอายุ

                       และระยะเวลาที่เหมาะสม

                             2) พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบัน

                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกมันสำปะหลังอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ำซาก เชน น้ำทวม ขาดน้ำ

                       ผลผลิตต่ำ กระทรวงเกษตรและสหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทำกินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุน
                       การปรับโครงสรางที่ดินสนับสนุนแหลงน้ำ ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม เปน

                       การสรางรายได และผลิตอาหารเพื่อบริโภค

                             3) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง แตปจจุบัน

                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง พบวาเกษตรกรปลูกขาวทดแทน ภาครัฐควรใหความรูแก

                       เกษตรกรและสรางแรงจูงใจใหกลับมาปลูกมันสำปะหลังเหมือนเดิม เนื่องจากพื้นที่มีความเหมาะสม

                       ทำใหใชตนทุนการผลิตต่ำและผลผลิตมีคุณภาพดี ทั้งนี้เกษตรกรตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38