Page 28 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำพูน
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               21








                                   ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช

                       ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                                   เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควร

                       สงเสริมใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมันสำปะหลัง คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (N) 16,583 ไร

                       ดังตารางที่ 10


                       ตารางที่ 10 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตมันสำปะหลัง

                                                                              ขาว (ไร)
                                      อำเภอ
                                                                 S3             N              รวม

                              ทุงหัวชาง                     4,146           267             4,413
                              บานธิ                           706               7             713

                              บานโฮง                         136             31              166

                              ปาซาง                           287               -             287
                              เมืองลำพูน                      1,086            40             1,126

                              แมทา                           1,027           141             1,168

                              ลี้                             7,458          1,245            8,702
                              เวียงหนองลอง                       8              -                8

                                       รวม                  14,853          1,730           16,583


                             4) แนวทางการจัดการ

                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร

                       ปลูกมันสำปะหลังตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิตที่มี

                       คุณภาพดี ซึ่งการปลูกปลูกมันสำปะหลัง ในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนำไปสูการตอยอดโครงการที่

                       สำคัญตางๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยำ เปนตน

                                 พื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
                       มันสำปะหลังในที่ดินที่มีขอจำกัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกมันสำปะหลัง เชน ความอุดมสมบูรณ

                       ของดิน ความเปนกรดเปนดาง และแหลงน้ำ โดยกระจายอยูในอำเภอลี้ อำเภอปาซาง อำเภอทุงหัวชาง

                       เปนตน
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33