Page 25 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำพูน
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               18








                           2.4  มันสำปะหลัง
                                   มันสำปะหลัง พืชเศรษฐกิจหลักของลำพูนในลำดับที่ 4 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก

                       หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)
                                    1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง

                                     ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 12,294 ไร คิดเปนรอยละ 1.29

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอำเภอบานโฮง 8,734 ไร อำเภอเมืองลำพูน 1,980 ไร อำเภอ

                       และปาซาง 939 ไร
                                     ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีมีเนื้อที่ 357,678 ไร คิดเปนรอยละ
                       37.39 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอำเภอลี้ 114,184 ไร อำเภอปาซาง 75,695 ไร และ


                       อำเภอบานโฮง 62,360 ไร
                                     ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 165,067 ไร คิดเปน
                       รอยละ 17.25 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยูในอำเภอลี้ 66,640 ไร อำเภอปาซาง 27,016 ไร

                       และอำเภอบานโฮง 24,037 ไร

                                     ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 421,645 ไร
                                   2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังในปจจุบัน

                                     (1) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 5,593 ไร คิดเปนรอยละ1.56 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายอยูในอำเภอลี้ 3,673 ไร อำเภอปาซาง 1,237 ไร และอำเภอทุงหัวชาง 452 ไร
                                     (2) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 3,464 ไร คิดเปนรอยละ 2.10 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายอยูในอำเภอลี้ 2,109 ไร อำเภอทุงหัวชาง 501 ไร และอำเภอปาซาง 358 ไร
                                     (3)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) ในการปลูกขาว มีเนื้อที่ 404 ไร

                                   3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมันสำปะหลังแตยังไมใช

                       พื้นที่ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง และพื้นที่ปลูกมัน
                       สำปะหลังในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดลำพูนมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับ

                       ความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 364,379 ไร กระจายอยูทั่วทุก
                       อำเภอ โดยอำเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อำเภอลี้ 110,511 ไร รองลงมาไดแก

                       อำเภอปาซาง 75,397 ไร อำเภอบานโฮง 71,094 ไร และอำเภอเมืองลำพูน 33,483 ไร

                       โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 12,294 ไร คิดเปนรอยละ 100 ของพื้นที่

                       ศักยภาพสูง พบมากในอำเภอบานโฮง 8,734 ไร อำเภอเมืองลำพูน 1,980 ไร และอำเภอปาซาง 939 ไร
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30