Page 32 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำพูน
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               25








                       ผสมผสาน เกษตรแมนยำหรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับ
                       เกษตรกรโดยแนะนำวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากขาวราคาไมดีและตองการปรับเลี่ยน

                       การผลิตควรเปนพืชไร เพื่อที่วาในอนาคตยังสามารถกลับมาทำนาไดอีก

                               3) พื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูก

                       ขาวอยู มีประมาณ 29,980 ไร ซึ่งประสบปญหาน้ำทวมซ้ำซาก ขาดน้ำ ผลผลิตต่ำ กระทรวงเกษตร

                       และสหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทำกินในพื้นที่นี้ เนื่องจากเปนพื้นที่ไมเหมาะสม โดยสนับสนุน
                       การปรับโครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบำรุงดิน สนับสนุนแหลงน้ำ ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มี

                       ความเหมาะสม และใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือเขา

                       โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน

                               4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสำหรับการปลูกขาว แตปจจุบันเกษตรกร

                       ไมไดใชพื้นที่ปลูกขาว โดยมาปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปน ขาวโพดเลี้ยงสัตว ใน

                       อนาคตขาวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาวไดเหมือนเดิม แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน การ

                       กลับมาปลูกขาวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจสงเสริมในเรื่องของการทำเกษตรรูปแบบอื่น เชน ทำ
                       การเกษตรแบบผสมผสานทดแทน


                         4.3  ขาวโพดเลี้ยงสัตว

                             1) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยัง

                       ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู มีเนื้อที่ 27,357 ไร สวนใหญอยูในเขตอำเภออำเภอลี้ อำเภอทุงหัวชาง และ
                       อำเภอปาซาง เกษตรกรยังคงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาโครงสรางของดิน

                       ในพื้นที่ดังกลาวควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการระบบน้ำ เชน ชลประทาน จะสรางความมั่นใจ

                       ใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทำงานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความ

                       เหมาะสมสำหรับการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแมนยำหรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และภาครัฐ

                       ควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนำวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น ทั้งนี้หาก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวราคาไมดีและตองการปรับเลี่ยนการผลิตควรเปนพืชไร เพื่อที่วาในอนาคตยัง

                       สามารถกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวดังเดิมไดอีก

                             2) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบัน

                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ำซาก เชน น้ำทวม

                       ขาดน้ำ ผลผลิตต่ำ ดังนั้นควรใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทำกินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับ

                       โครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบำรุงดิน สนับสนุนแหลงน้ำ ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความ
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37