Page 31 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำพูน
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               24








                             (2) พื้นที่ปลูกลำไยที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกลำไยอยู มีเนื้อที่
                       181,267 ไร สวนใหญอยูในเขตอำเภออำเภอลี้ อำเภอปาซาง อำเภอบานโฮง และกระจายตัวทุกอำเภอ

                       เกษตรกรยังคงปลูกลำไยไดผลดี น้ำเปนสิ่งจําเปนตอกาเจริญเติบโตของลําไย การผลิตลำไยเพื่อใหได

                       คุณภาพตองมีน้ำในปริมาณที่เพียงพอตลอดฤดูกาล นอกจากนี้ควรทําการศึกษาคุณสมบัติของน้ำและ

                       วิธีการจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพ เหมาะสําหรับการผลิตลําไย การสนับสนุนดานการชลประทาน

                       จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน
                             (3) พื้นที่ปลูกลำไยที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใชที่ดิน

                       ปลูกลำไยอยู มีประมาณหกพันกวาไร ซึ่งประสบปญหาขาดน้ำ ผลผลิตต่ำ กระทรวงเกษตรและสหกรณ

                       ใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทำกินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับโครงสรางที่ดินสนับสนุนแหลงน้ำ

                       ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม เปนการสรางรายได และผลิตอาหารเพื่อบริโภค

                             (4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสำหรับการปลูกลำไย แตปจจุบันเกษตรกรไมได

                       ใชพื้นที่ปลูกลำไย โดยหันมาปลูกขาวและขาวโพดเลี้ยงสัตวแทน สรางความเขาใจใหกับเกษตรกรใน

                       การบริหารจัดการพื้นที่ และการปรับปรุงบำรุงดินไมใหเสื่อมโทรม เกษตรกรมีความมั่นใจมากกวา
                       การปลูกลำไย แตในอนาคตเกษตรกรสามารถกลับมาปลูกลำไยหรือทำการเกษตรแบบผสมผสานไดอีก


                         4.2  ขาว

                             1) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่ 61,559 ไร

                       อยูในเขตอำเภอเมืองลำพูน อำเภอบานธิ อำเภอปาซาง และกระจายตัวในพื้นที่เล็ก ๆ ในอำเภอบานธิ
                       อำเภอบานโฮง อำเภอลี้ ตั้งอยูในเขตชลประทาน 8 อำเภอ ทั้งนี้โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัด

                       สมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงผลิตขาวที่สำคัญของจังหวัด และมี

                       การบริหารจัดการน้ำชลประทาน การจัดการดิน ปุย พันธุขาว โดยรวมกลุมเปนระบบสงเสริมเกษตร

                       แปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจรการตลาดในและตางประเทศการแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุน

                       การทำมาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural
                       Practices: GAP) และเนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง การปลูกพืชหลังนาจะชวยใหเกษตรกรมีรายได

                       เพิ่มขึ้น และเปนการปรับปรุงบำรุงดิน

                             2) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่มาก

                       ถึง 53,719 ไร กระจายตัวอยูเกือบทั้งจังหวัดลำพูน เปนพื้นที่ปลูกขาวที่มีขอจำกัดไมมากนัก เกษตรกร

                       ยังคงปลูกขาวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ำในบางชวงของการเพาะปลูก ควรสนับสนุนดาน

                       การบริหารจัดการน้ำ เชน ชลประทาน จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน ปญหาการทิ้ง

                       ถิ่นฐานไปทำงานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสำหรับการเกษตรแบบ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36