Page 24 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำพูน
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               17








                                   เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควรสงเสริม
                       ใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว (S3+N)

                       16,531 ไร (ดังตารางที่ 8)



                       ตารางที่ 8 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว

                                                                            ขาว (ไร)
                                   อำเภอ
                                                            S3                N                รวม

                              ทุงหัวชาง                 4,146             267              4,413

                              บานธิ                       706                7                713

                              บานโฮง                     136               31                167

                              ปาซาง                       287                0                287

                              เมืองลำพูน                  1,086              31              1,117

                              แมทา                       1,027              51              1,078
                              ลี้                         7,458           1,290              8,748

                              เวียงหนองลอง                   8               0                  8

                                    รวม                 14,854            1,677             16,531



                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร

                       ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิต

                       ที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนำไปสูการตอยอดโครงการที่

                       สำคัญตางๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยำ เปนตน

                                 พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว ในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตว ในที่ดินที่มีขอจำกัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว เชน
                       ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง และแหลงน้ำ กระจายอยูในอำเภอลี้ อำเภอทุงหัวชาง

                       อำเภอปาซาง เปนตน

                                      (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให

                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน ทำการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ใหผลตอบแทนสูงกวา
                       โดยพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29