Page 28 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแพร่
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               21








                       ประมาณ 18.4 ลานไร ดังนั้น จึงควรพิจารณาปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่สอดคลองกับความตองการ
                       ของตลาด (ตารางที่ 10)


                       ตารางที่ 10  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตยางพารา

                                                                       ขาว (ไร)
                               อําเภอ
                                                       S3                 N                รวม

                            เดนชัย                              463         62                      525
                            เมืองแพร                           4,982         -                     4,982

                            รองกวาง                             883          -                      883

                            ลอง                                     -         -                         -

                            วังชิ้น                               38         28                       66
                            สอง                                 6,341         -                     6,341

                            สูงเมน                             1,512         -                     1,512

                            หนองมวงไข                           68          -                       68
                               รวม                             14,287       90                     14,377


                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ปลูกยางพาราตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิต
                       ที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกยางพาราในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่

                       สําคัญตางๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกยางพาราใน
                       ที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกยางพารา ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกยางพาราที่สําคัญ

                       ของจังหวัด กระจายอยูในอําเภอสอง อําเภอเมืองแพร และอําเภอสูงเมน
                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกยางพารา
                       ในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกยางพารา เชน ความอุดมสมบูรณของดิน
                       ความเปนกรดเปนดาง แหลงน้ํา เปนตน กระจายอยูในอําเภอเดนชัย อําเภอวังชิ้น และอําเภอสูงเมน

                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกยางพารา
                       มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33