Page 30 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแพร่
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               23








                             บัวบก เปนพืชที่ปลูกโตงายในพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ เก็บเกี่ยวไดรวดเร็ว และสามารถให
                       ผลผลิตไดตลอดป โดยพื้นที่จังหวัดแพรมีพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกบัวบกที่ระดับความเหมาะสมสูง
                       (S1) ประมาณ 16,718 ไร กระจายอยูในอําเภอเมืองแพร อําเภอสูงเมน อําเภอสอง อําเภอเดนชัย
                       อําเภอรองกวาง และอําเภอหนองมวงไข

                       4. แนวทางการสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ


                         4.1  ขาว
                             1) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่ 195,419 ไร
                       อยูในทุกเขตอําเภอของจังหวัดแพร โดยอําเภอที่ปลูกขาวมากที่สุดของจังหวัดแพร ไดแก อําเภอเมืองแพร

                       อําเภอสูงเมน และอําเภอสอง ตามลําดับ ทั้งนี้โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการ
                       เสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงผลิตขาวที่สําคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ํา
                       ชลประทาน การจัดการดิน ปุย พันธุขาว โดยรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจร
                       การตลาดในและตางประเทศการแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํามาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย
                       และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) เนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง

                       การปลูกพืชหลังนาจะชวยใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น และเปนการปรับปรุงบํารุงดิน
                             2) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่
                       94,822 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอลอง อําเภอวังชิ้น และอําเภอรองกวาง เปนพื้นที่ปลูกขาวที่มี

                       ขอจํากัดไมมากนัก เกษตรกรยังคงปลูกขาวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ําในบางชวงของ
                       การเพาะปลูก การสนับสนุนดานการชลประทาน จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน
                       ปญหาการทิ้งถิ่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสูงสําหรับการเกษตรแบบผสมผสาน หรือ
                       เกษตรทฤษฎีใหม
                             3) พื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใชที่ดิน

                       ปลูกขาวอยู ซึ่งประสบปญหาน้ําทวมซ้ําซาก ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา กระทรวงเกษตรและสหกรณ
                       ใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับโครงสรางที่ดินสนับสนุนแหลงน้ํา
                       ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม เปนการสรางรายได และผลิตอาหารเพื่อบริโภค

                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว แตปจจุบันเกษตรกรไมได
                       ใชพื้นที่ปลูกขาว โดยหันมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแทน เกษตรกรเปนสมาชิกชาวไรออยโรงงานของ
                       โรงงานน้ําตาล ทําขอตกลงซื้อขายผลผลิต เกษตรกรมีความมั่นใจมากกวาการปลูกขาวแตในอนาคต
                       เกษตรกรสามารถกลับมาปลูกขาวหรือทําการเกษตรแบบผสมผสานไดอีก แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน

                       การกลับมาปลูกขาวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจสงเสริมในเรื่องของการทําเกษตรรูปแบบอื่น อาทิ
                       เกษตรผสมผสาน

                         4.2  ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                             1) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวโพด
                       เลี้ยงสัตวอยู มีเนื้อที่ 3,823 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอสอง อําเภอเมืองแพร และอําเภอหนองมวงไข

                       ตามลําดับ ทั้งนี้ โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อ
                       สงวนใหเปนแหลงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สําคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการระบบน้ํา
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35