Page 25 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแพร่
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               18








                         2.4  ยางพารา
                             ยางพาราพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดแพรในลําดับที่ 4 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก
                       หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)

                                1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกยางพารา
                                  ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 94,041 ไร คิดเปนรอยละ 6.95

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอสอง 37,189 ไร อําเภอเมืองแพร 29,820 ไร
                       และอําเภอสูงเมน 10,111 ไร
                                  ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 22,524 ไร คิดเปนรอยละ
                       1.66 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเดนชัย 12,830 ไร อําเภอวังชิ้น 4,924 ไร
                       และอําเภอสูงเมน 3,424 ไร
                                  ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 679,404 ไร คิดเปนรอยละ

                       50.20 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอลอง 266,282 ไร อําเภอวังชิ้น
                       138,442 ไร และอําเภอรองกวาง 112,405 ไร
                                  ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 557,422 ไร
                                2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกยางพาราในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสม

                       ของที่ดิน ไดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 661 ไร คิดเปนรอยละ 0.7 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอสอง 352 ไร อําเภอเมืองแพร 193 ไร และอําเภอรองกวาง 89 ไร
                                  (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,623 ไร คิดเปนรอยละ 7.21 ของพื้นที่พื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอเดนชัย 1,545 ไร อําเภอวังชิ้น 37 ไร และอําเภอสูงเมน
                       27 ไร

                                  (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 15,830 ไร คิดเปนรอยละ 2.33 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอรองกวาง 5,553 ไร อําเภอลอง 5,321 ไร และอําเภอวังชิ้น
                       2,076 ไร
                                  (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 327 ไร

                                3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกยางพาราแตไมใชพื้นที่ปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกยางพารา และพื้นที่ปลูกยางพาราในชั้นความ
                       เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดแพรมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1)
                       และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 114,281 ไร กระจายอยูอําเภอตาง ๆ โดยอําเภอที่มี
                       พื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอสอง 37,530 ไร รองลงมา อําเภอเมืองแพร 30,017 ไร

                       อําเภอเดนชัย 15,337 ไร และอําเภอสูงเมน 13,501 ไร ตามลําดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 93,380 ไร คิดเปนรอยละ 99.30 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอสอง 36,837 ไร อําเภอเมืองแพร 29,627 ไร และอําเภอสูงเมน 10,104 ไร
                                  (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 20,901 ไร คิดเปนรอยละ 92.79
                       พื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอเดนชัย 11,285 ไร อําเภอวังชิ้น 4,887 ไร และอําเภอสูงเมน
                       3,397 ไร
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30