Page 31 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแพร่
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               24








                       การจัดการดิน ปุย พันธุขาวขาวโพดเลี้ยงสัตว โดยรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ พัฒนาตอยอด
                       ครบวงจรการตลาดในและตางประเทศการแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํามาตรฐานสินคา
                       เกษตรอินทรีย และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) เนื่องจาก
                       เปนพื้นที่ศักยภาพสูง

                             2) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู มีเนื้อที่ 49,423 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอรองกวาง อําเภอสอง และอําเภอ
                       เมืองแพร ตามลําดับ รัฐควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการระบบน้ํา อาทิ ชลประทาน จะสรางความ
                       มั่นใจใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทํางานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้

                       มีความเหมาะสมสําหรับการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแมนยําหรือเกษตรทฤษฎีใหม
                             3) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบัน
                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู แตมีจํานวนนอย ภาครัฐควรใหการชวยเหลือ
                       เกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่ดังกลาว โดยสนับสนุนการปรับโครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุน

                       แหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม และใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือ
                       ใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน เขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม
                       (Zoning by Agri-Map) เปนตน

                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว แตปจจุบัน
                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว ยางพารา
                       เปนตน ภาครัฐควรสรางความเขาใจใหกับเกษตรกรในการบริหารจัดการพื้นที่ และการปรับปรุงบํารุงดิน
                       ไมใหเสื่อมโทรม

                         4.3  มันสําปะหลัง

                             1) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกมันสําปะหลัง
                       อยู มีเนื้อที่ 888 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอเดนชัย อําเภอวังชิ้น และอําเภอเมืองแพร ตามลําดับ
                       ทั้งนี้ ตามมาตรการยุทธศาสตรมันสําปะหลัง 2564 -2567 เนนใหเกษตรกรเขาถึงพันธุมันสําปะหลัง
                       ตานทานโรค (Cassava Mosaic Disease: CMD) ใหเชื้อแปงสูงและมีผลผลิตเฉลี่ยตอไรไมต่ํากวา 5 ตัน

                       ภายในป 2567 นั้น ทําใหเนนมีการเพิ่มผลผลิตมันสําปะหลังในพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง แตเนนการลด
                       ตนทุนผลผลิต สงเสริมการทําระบบน้ําหยดในพื้นที่ที่มีศักยภาพ และควรเรงหาทางแกไขปญหาโรคโคนเนา
                       หัวเนา และโรคใบดางของมันสําปะหลัง
                             2) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูก

                       มันสําปะหลังอยู มีเนื้อที่ 7,300 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอลอง อําเภอเดนชัย และอําเภอวังชิ้น
                       ตามลําดับ เกษตรกรยังคงปลูกมันสําปะหลังไดผลดี หลายแหงประสบปญหาโครงสรางของดินหรือดินดาน
                       ควรพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ใหมากขึ้นในเรื่องของคุณภาพดิน และทําการตรวจวิเคราะหคุณภาพดิน
                       อยูเสมอมีการใสปุยตามคาวิเคราะหดิน ซึ่งอาจตองใชปุยสงตัด สงเสริมเกษตรกรแปรรูปมันสําปะหลัง

                       เบื้องตนเพื่อเพิ่มมูลคา อาทิ การแปรรูปมันเสนสะอาด
                             3) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบัน
                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกมันสําปะหลังอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา
                       ผลผลิตต่ํา เปนตน ควรสงเสริมและสรางความรูความเขาใจในการไถระเบิดดินดาน ใหเกษตรกรมีวิธี
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36