Page 23 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแพร่
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               16








                       ตารางที่ 7  (ตอ)

                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                         อําเภอ       ประเภทพื้นที่
                                                          S1       S2        S3          N         รวม
                                                           10,219    55,561     24,342     59,938   150,060
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)  (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)  (100.00%)
                                  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ    7       215         54          5       281
                          สอง
                                  เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (0.07%)   (0.39%)   (0.22%)   (0.01%)   (0.19%)
                                                           10,212    55,346                         65,558
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                           -          -
                                                          (99.93%)   (99.61%)                      (43.69%)
                                                           12,908    4,016      13,096     71,425   101,445
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)  (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)  (100.00%)
                                  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   61                   34                  95
                         สูงเมน                                         -                     -
                                  เหมาะสมตางๆ (ปลูกจริง)   (0.47%)            (0.26%)              (0.09%)

                                                           12,847    4,016                          16,863
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                           -          -
                                                          (99.53%)  (100.00%)                      (16.62%)
                                                             868     13,966      7,666     32,001   54,501
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)  (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)  (100.00%)

                        หนองมวง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ              9          79                  88
                           ไข    เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)      -   (0.06%)    (1.03%)         -    (0.16%)

                                                             868     13,957                         14,825
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                           -          -
                                                         (100.00%)   (99.94%)                       (27.2%)

                                                           48,411   276,497   429,445    599,038   1,353,391
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                         รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ  888      7,300    21,468      1,146     30,802
                         จังหวัด   เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (1.83%)   (2.64%)   (5.00%)   (0.19%)   (2.28%)
                                                           47,523   269,197                         316,720
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                           -          -
                                                         (98.17%)   (97.36%)                       (23.40%)


                                   ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือ
                       ในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่
                       ปลูกพืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว

                                   เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวา พื้นที่ที่ควร
                       พิจารณาใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมันสําปะหลัง คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 34,829 ไร
                       และบริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกยางพารา (S3) 6,637 ไร โดยอําเภอที่มีศักยภาพในการขยายการผลิตมัน
                       สําปะหลัง (ตารางที่ 8)
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28