Page 32 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแพร่
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               25








                       ปองกันและแกไขปญหาที่ลดตนทุน และควรใหความชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ให
                       ผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต
                       (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกมันสําปะหลัง แตปจจุบัน

                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว ยางพารา เปนตน
                       ภาครัฐควรสรางความเขาใจใหกับเกษตรกรในการบริหารจัดการพื้นที่ และการปรับปรุงบํารุงดินไมให
                       เสื่อมโทรม

                         4.4  ยางพารา
                             1) พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกยางพาราอยู มีเนื้อที่

                       661 ไร พบมากอยูในเขตอําเภอสอง และกระจายตัวในพื้นที่เล็ก ๆ ในอําเภอเมืองแพร อําเภอรองกวาง
                       ตามมาตรการยุทธศาสตรยางพาราระยะ 20ป ( พ.ศ. 2560- 2579) เนนใหมีการเพิ่มผลผลิตยางพารา
                       ตอไรตอป ภายในป 2579 นั้น ควรมีการจัดการที่เหมาะสมในเรื่องตางๆ ไดแก การคัดเลือกพันธุให

                       เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และตานทานโรค การปรับปรุงบํารุงดิน การใสปุยที่ถูกตองและมีประสิทธิภาพ
                       การปลูกพืชแซมและพืชคลุมดินใหเหมาะสมเพราะมีผลตอการเจริญเติบโตของยางพารา การบํารุงรักษา
                       การใสปุยการตัดแตงกิ่ง และเทคนิคการกรีดยางใหมีปริมาณน้ํายางสูงมีคุณภาพและตรงตามมาตรฐาน
                       เนนการพัฒนาการตลาดในพื้นที่ เชน จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง
                       สงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยางในพื้นที่มีความเขมแข็ง มีการบริหารงานแบบมืออาชีพและสามารถ

                       ถายทอดกิจการใหกับคนรุนใหม เปนตน
                             2) พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกยางพาราอยู
                       มีเนื้อที่ 1,623 ไร กระจายตัวอยูในอําเภอเดนชัย อําเภอวังชิ้น อําเภอสูงเมน และอําเภอเมืองแพร

                       เปนพื้นที่ปลูกยางพาราที่มีขอจํากัดไมมากนัก เกษตรกรยังคงปลูกยางพาราไดผลดี ควรสนับสนุนใหมี
                       การเพิ่มผลผลิตยางพารา โดยเนนการจัดการที่เหมาะสมในเรื่องตาง ๆ เชนเดียวกันกับพื้นที่เหมาะสมสูง
                       โดยเฉพาะการปรับปรุงบํารุงดิน เนนการพัฒนาการตลาดในพื้นที่ เชน จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูป
                       ผลิตภัณฑในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางใหมากขึ้น โคนยางพาราที่มีอายุตั้งแต 25 ป ปลูก

                       ยางพาราทดแทนในพื้นที่เดิม มีการพัฒนาตลาดและชองทางจัดจําหนายใหมากขึ้น โดยเนนการแปร
                       รูปยาง หรือไมยางพาราเพิ่มมากขึ้นซึ่งอาจเนนจากชุมชนที่เขมแข็งเปนพื้นที่ตนแบบ
                             3) พื้นที่ปลูกยางพาราในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกร
                       ยังคงใชที่ดินปลูกยางพาราอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา

                       เปนตน กระทรวงเกษตรและสหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ โดยสงเสริมใหมีการ
                       โคนยางพาราที่มีอายุตั้งแต 25 ป และหาพืชอื่นทดแทน เชน สงเสริมใหปลูกไมผล มะพราว ไผหวาน
                       มันสําปะหลัง ยาสูบ แตงโม พืชไร พืชผักตาง ๆ ทดแทน เปนตน ใหการชวยเหลือเกษตรกรที่เลือก
                       ปลูกพืชชนิดใหมที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตพืชผักบริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการ

                       บริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) และจัดหาตลาดใหกับเกษตรกร โดยอาจเริ่มจาก
                       ตลาดชุมชน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37