Page 21 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแพร่
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               14








                         2.3  มันสําปะหลัง
                             มันสําปะหลังพืชเศรษฐกิจหลักของแพรในลําดับที่ 3 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก
                       หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 - 11)

                                1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง
                                  ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 48,411 ไร คิดเปนรอยละ 3.58 ของ

                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอสูงเมน 12,908 ไร อําเภอเมืองแพร 11,091 ไร
                       อําเภอสอง 10,219 ไร
                                  ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 276,497 ไร คิดเปนรอยละ
                       20.43 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอรองกวาง 71,727 ไร อําเภอสอง
                       55,561 ไร อําเภอลอง 51,422 ไร
                                  ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 429,445 ไร คิดเปนรอยละ

                       31.73 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอลอง 185,679 ไร อําเภอวังชิ้น
                       113,296 ไร และอําเภอรองกวาง 39,338 ไร
                                  ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 599,038 ไร

                                2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสม
                       ของที่ดิน ไดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 888 ไร คิดเปนรอยละ 1.83 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอเดนชัย 584 ไร อําเภอวังชิ้น 139 ไร และอําเภอเมืองแพร 97 ไร
                                  (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 7,300 ไร คิดเปนรอยละ 2.64 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอลอง 3,933 ไร อําเภอเดนชัย 2,109 ไร และอําเภอวังชิ้น
                       678 ไร

                                  (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 21,468 ไร คิดเปนรอยละ 5.00 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอลอง 13,872 ไร อําเภอวังชิ้น 4,885 ไร และอําเภอเดนชัย
                       2,414 ไร
                                  (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,146 ไร
                                3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมันสําปะหลังแตไมใชพื้นที่ปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกมันสําปะหลัง และพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง
                       ในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดแพรมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง
                       (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 316,720 ไร กระจายอยูอําเภอตาง ๆ โดยอําเภอ
                       ที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอรองกวาง 73,245 ไร รองลงมา อําเภอสอง 65,558 ไร

                       อําเภอเมืองแพร 54,618 และอําเภอลอง 47,506 ไร ตามลําดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 47,523 ไร คิดเปนรอยละ 98.17 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอสูงเมน 12,847 ไร อําเภอเมืองแพร 10,994 ไร และอําเภอสอง 10,212 ไร
                                  (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 269,197 ไร คิดเปนรอยละ 97.36 พื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอรองกวาง 71,562 ไร อําเภอสอง 55,346 ไร และอําเภอลอง

                       47,489 ไร
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26