Page 20 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแพร่
P. 20
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
13
ตารางที่ 6 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว
ขาว (ไร) ยางพารา (ไร)
อําเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
เดนชัย 463 62 525 9 - 9
เมืองแพร 6,978 9 6,987 233 - 233
รองกวาง 7,716 125 7,841 4,651 - 4,651
ลอง 4,037 - 4,037 490 - 490
วังชิ้น 3,350 77 3,427 433 - 433
สอง 8,646 100 8,746 755 - 755
สูงเมน 1,694 - 1,694 22 - 22
หนองมวงไข 514 - 514 44 - 44
รวม 33,398 373 33,771 6,637 - 6,637
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิต
ที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่
สําคัญตางๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกขาวโพด
เลี้ยงสัตวในที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูก
ขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สําคัญของจังหวัด กระจายอยูอําเภอสอง อําเภอเมืองแพร และอําเภอหนองมวงไข
พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
ขาวโพดเลี้ยงสัตวในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว เชน
ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง ความชื้น เปนตน กระจายอยูในอําเภอรองกวาง
อําเภอสอง และอําเภอเมืองแพร
(2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา
โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
มีตนทุนที่ต่ํา ใหผลตอบแทนที่ดีกวา เปนตน แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย