Page 16 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแพร่
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                9








                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ปลูกขาวตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี
                       ซึ่งการปลูกขาวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่สําคัญตาง ๆ ได เชน

                       เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่ไมมี
                       ขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกขาว ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกขาวที่สําคัญของจังหวัด
                       กระจายอยูในอําเภอเมืองแพร อําเภอสูงเมน และอําเภอสอง

                                 พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่มี
                       ขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาว เชน ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง
                       แหลงน้ํา เปนตน กระจายอยูในอําเภอลอง อําเภอวังชิ้น และอําเภอรองกวาง
                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให

                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต อาทิ ทําการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ใหผลตอบแทนสูงกวา
                       โดยพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                         2.2  ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                             ขาวโพดเลี้ยงสัตวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของแพรในลําดับที่ 2 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตร
                       เชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)

                                1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
                                   ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 26,382 ไร คิดเปนรอยละ 2.11
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอสอง 11,346 ไร อําเภอหนองมวงไข 7,870 ไร
                       และอําเภอเมืองแพร 7,166 ไร
                                  ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 291,903 ไร คิดเปนรอยละ

                       23.38 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอรองกวาง 73,409 ไร อําเภอสอง
                       54,432 ไร และอําเภอเมืองแพร 47,590 ไร
                                  ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 434,197 ไร คิดเปนรอยละ
                       34.77 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอลอง 190,825 ไร อําเภอวังชิ้น
                       113,183 ไร และอําเภอรองกวาง 39,313 ไร
                                  ระดับที่ 4เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 496,317 ไร


                                2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสม
                       ของที่ดิน ไดดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 3,823 ไร คิดเปนรอยละ 14.49 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอสอง 1,801 ไร อําเภอเมืองแพร 1,170 ไร และอําเภอหนองมวงไข 852 ไร
                                  (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 49,423 ไร คิดเปนรอยละ 16.93 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอรองกวาง 17,891 ไร อําเภอสอง 12,819 ไร และ

                       อําเภอเมืองแพร 5,985 ไร
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21