Page 17 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแพร่
P. 17
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
10
(3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 97,838 ไร คิดเปนรอยละ 22.53 ของพื้นที่
ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอลอง 39,595 ไร อําเภอวังชิ้น 20,865 ไร และอําเภอ
รองกวาง 18,945 ไร
(4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 29,875 ไร
3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแตไมใช
พื้นที่ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว และพื้นที่ปลูก
ขาวโพดเลี้ยงสัตวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดแพรมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 265,039 ไร กระจายอยูใน
อําเภอตาง ๆ โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอรองกวาง 55,518 ไร อําเภอสอง
51,158 ไร อําเภอเมืองแพร 47,601 ไร และอําเภอลอง 39,468 ไร ตามลําดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้
(1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 22,559 ไร คิดเปนรอยละ 85.51 ของพื้นที่
ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอสอง 9,545 ไร อําเภอหนองมวงไข 7,018 ไร และอําเภอเมืองแพร 5,996 ไร
(2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 242,480 ไร คิดเปนรอยละ 83.07
ของพื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอรองกวาง 55,518 ไร อําเภอสอง 41,613 ไร และ
อําเภอเมืองแพร 41,605 ไร
ตารางที่ 5 พื้นที่ศักยภาพ พื้นที่ปลูกจริง พื้นที่คงเหลือของขาวโพดเลี้ยงสัตวรายอําเภอ จังหวัดแพร
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
อําเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
17,829 26,379 34,905 79,113
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 1,432 3,406 763 5,601
เดนชัย -
เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) (8.03%) (12.91%) (2.19%) (7.08%)
16,397 16,397
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(91.97%) (20.73%)
7,166 47,590 19,483 80,077 154,316
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 1,170 5,985 1,888 758 9,801
เมืองแพร
เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) (16.33%) (12.58%) (9.69%) (0.95%) (6.35%)
5,996 41,605 47,601
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(83.67%) (87.42%) (30.85%)