Page 19 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแพร่
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               12








                       ตารางที่ 5  (ตอ)

                                                                      เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                         อําเภอ       ประเภทพื้นที่
                                                            S1          S2        S3          N       รวม
                                                            7,870      6,965       7,651    28,137    50,623
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                         (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                        หนองมวง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   852         742       1,225      241      3,060
                           ไข    เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (10.83%)   (10.65%)   (16.01%)   (0.86%)   (6.04%)

                                                            7,018      6,223                          13,241
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                             -         -
                                                          (89.17%)   (89.35%)                        (26.16%)
                                                           26,382    291,903     434,197   496,317   1,248,799
                                  พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)

                         รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ  3,823    49,423      97,838    29,875   180,959
                         จังหวัด   เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (14.49%)   (16.93%)   (22.53%)   (6.02%)   (14.49%)
                                                           22,559    242,480                         265,039
                                  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                             -         -
                                                         (85.51%)   (83.07%)                        (21.22%)


                                   ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
                       ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                                   เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวา พื้นที่

                       ที่ควรพิจารณาใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N)
                       33,771 ไร และบริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกยางพารา (S3) 6,637 ไร โดยอําเภอที่มีศักยภาพในการขยาย
                       การผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว (ตารางที่ 6)
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24