Page 30 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               23








                       3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด

                         3.1  มะขามหวานเพชรบูณ (GI) จังหวัดเพชรบูรณไดชื่อวาเปน“เมืองมะขามหวาน”เนื่องจากดิน
                       ของจังหวัดเพชรบูรณเปนดินรวนที่อุดมดวยธาตุอาหารฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมคอนขางสูง
                       ภูมิอากาศรอน แลง รวมทั้งสภาพภูมิประเทศซึ่งเปนเขาสูงเอื้อตอการปลูกมะขามเปนอยางมาก

                              เพชรบูรณมีมะขามปลูกมากแทบทุกอําเภอ โดยเฉพาะที่อําเภอชนแดน ไดผลผลิตคุณภาพดี
                       มีเปลือกสีน้ําตาลเนียน มีเนื้อสวยสม่ําเสมอ หนา นุม เหนียว ไมแข็งกระดาง รกนอย รสชาติหวาน
                       หอม มีหลายพันธุ
                              พันธุหมื่นจง เปนตนตระกูลของพันธุมะขามหวาน มีอายุมากราว 200 ป ถิ่นกําเนิดอยูที่

                       อําเภอหลมเกา โดย ”ขุนหมื่นจง” เปนผูนํามาปลูก เนื้อพันธุนี้เหนียวเหมือนกลวยตาก รสชาติหอมหวาน
                       เมล็ดเล็ก ลอนงาย
                              พันธุสีทอง เรียกอีกชื่อวา “พันธุนายหยัด” เพราะ นายประหยัด กองมูล เกษตรกรชาว

                       อําเภอหลมเกา เปนผูนํามาปลูก เปนที่ยอมรับกันวาเปนสายพันธุที่ดีเยี่ยม เปลือกเปนสีเหลืองทอง
                       เนื้อหนา รสหวานจัด จะสุกในชวงเดือนกุมภาพันธถึงตนเดือนมีนาคม
                              พันธุประกายทอง ตนกําเนิดอยูที่บานโปงตาเบา อําเภอชนแดนโดย “เจียง แซเฮง” ไดนํา
                       เมล็ดมาเพาะพันธุมาปลูก จะแกเก็บไดราวเดือนธันวาคม ฝกมีขนาดยาว ใหญ โคงงอ ไมมีเหลี่ยม เมื่อสุก
                       เปลือกจะบาง ผิวเรียบเปนสีน้ําตาล เนื้อหนามีสีน้ําผึ้ง รสหอมหวาน รกหุมเนื้อนอย เมล็ดเล็ก


                         3.2  ขาวไรลืมผัวเพชรบูรณ (GI)  ขาวไรลืมผัวเพชรบูรณ เปนขาวเหนียวดําพันธุลืมผัว ปลูกในเขต
                       จังหวัดเพชรบูรณ เมล็ดมีสีมวงดํารูปรางปอม เมื่อหุงจะมีกลิ่นหอม อรอย เคี้ยวจะรูสึกมันๆ
                       กรอบนอกนุมใน  ขาวไรลืมผัวเพชรบูรณมีความโดดเดนกวาขาวสายพันธอื่น เนื่องจากสภาพภูมิประเทศ
                       ของจังหวัดเพชรบูรณเปนเทือกเขาสลับซับซอน มีเนินเขาสลับแองน้ําขนาดเล็กๆ พื้นที่ดอนไมมีน้ําขัง

                       ลักษณะดินมีความอุดมสมบูรณ เปนดินตะกอนน้ําพัด ทําใหขาวเหนียวพันธุลืมผัวที่ปลูกในบริเวณนี้
                       มีคุณคาทางโภชนาการและมีปริมาณสารอาหารตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอรางกาย

                         3.3 ถั่วเขียว ถั่วเขียว เปนพืชตระกูลถั่ว ที่ใหเมล็ดที่มีเปลือกสีเขียว แตเนื้อเมล็ดสีเหลือง
                       ถั่วเขียวเปนพืชที่มีอายุสั้น จึงใชน้ํานอยกวาพืชไรอื่นหลายชนิด และงอกไดเร็ว สามารถใชในระบบ
                       ปลูกพืช เชน ทดแทนขาวนาปรัง ปลูกกอนขาวโพดในพื้นที่ประสบภัยแลง ใชปลูกกอนหรือหลังการ

                       ทํานาหรือทําไร เพื่อตัดวงจรการระบาดของศัตรูพืช ชวยบํารุงรักษาความอุดมสมบูรณของดิน
                       ตรึงไนโตรเจนไดดี สามารถใชเปนปุยพืชสดใหปริมาณไนโตรเจนสูง ถั่วเขียวใชเปนวัตถุดิบ ในการ
                       ผลิตแปงวุนเสน เพาะถั่วงอก และประกอบอาหารอื่นๆ ถั่วเขียวมีสองชนิด ไดแก ถั่วเขียวผิวมัน และ
                       ถั่วเขียวผิวดํา

                         3.4  ถั่วเหลือง ถั่วเหลืองจัดเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญชนิดหนึ่งของประเทศไทย และถือวาเปน

                       ราชาของพืชตระกูลถั่วทั้งหลาย  พื้นที่เพาะปลูกถั่วเหลืองสวนใหญอยูในแถบภาคเหนือและภาคกลาง
                       ตอนบน ถั่วเหลืองถูกจัดอยูในกลุมอาหารประเภทเนื้อสัตวของ อาหารหลักหมูที่ 1 อันอุดมไปดวย
                       โปรตีน ซึ่งเปนโปรตีนชั้นดีมีคุณภาพสูงใกลเคียงกับโปรตีนที่ไดจากเนื้อสัตว  โปรตีนในถั่วเหลืองชวย

                       ลดการขับถายแคลเซียมทางปสสาวะ สามารถชวยลดอัตราเสี่ยงของโรคกระดูกผุได ในถั่วเหลืองมีใยอาหาร
                       ที่ละลายและไมละลายน้ํา ชวยลดระดับโคเลสเทอรอลในเลือด และชวยในการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดได
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35