Page 35 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               28








                       สงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ และสงเสริมใหเกษตรกรเปน Smart Farmer รวมทั้ง
                       ประชาสัมพันธใหเกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวงอายุ และระยะเวลาที่เหมาะสม
                             2) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกมันสําปะหลัง

                       อยู มีเนื้อที่ 79,504 ไร สวนใหญอยูในอําเภอศรีเทพ อําเภอวิเชียรบุรี และ อําเภอบึงสามพัน ซึ่ง
                       เกษตรกรยังคงปลูกมันสําปะหลังไดผลดี หลายแหงประสบปญหาโครงสรางของดินหรือดินดาน

                       ทั้งนี้ควรพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ใหมากขึ้น ในเรื่องของคุณภาพดิน และทําการตรวจวิเคราะห
                       คุณภาพดินอยูเสมอ สงเสริมใหมีการใสปุยตามคาวิเคราะหดิน ซึ่งอาจตองใชปุยสั่งตัด สรางความรู

                       ความเขาใจใหกับเกษตรกรในการจัดการพื้นที่ การปลูก การดูแลรักษา การปองกันโรค แมลงศัตรูพืช
                       และการเก็บเกี่ยว สงเสริมการใชทอนพันธุที่ตานทานโรค และใหผลผลิตสูง พัฒนาระบบน้ําหยดและ

                       การใชน้ําจากแหลงน้ําในพื้นที่ ใหมีการใชประโยชนกับมันสําปะหลังใหมากที่สุด สงเสริมเกษตรกร
                       แปรรูปมันสําปะหลังเบื้องตนเพื่อเพิ่มมูลคา เชน การแปรรูปมันเสนสะอาด ประชาสัมพันธให
                       เกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวงอายุ และระยะเวลาที่เหมาะสม

                             3) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบัน
                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกมันสําปะหลังอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา

                       ผลผลิตต่ํา ดังนั้นควรมีการสงเสริมและสรางความรูความเขาใจในการไถระเบิดดินดาน ใหเกษตรกรมี
                       วิธีปองกันและแกไขปญหาที่ลดตนทุน ใหการชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ให

                       ผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการบริหารจัดการ
                       พื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน ทั้งนี้ควรจัดหาตลาดใหกับเกษตรกรในการปลูกพืชไร หรือ

                       พืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน
                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกมันสําปะหลัง แตปจจุบัน
                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว ยางพารา เปนตน

                       ภาครัฐควรใหความรูแกเกษตรกรและสรางแรงจูงใจใหกลับมาปลูกมันสําปะหลังเหมือนเดิม เนื่องจาก
                       พื้นที่มีความเหมาะสม ทําใหใชตนทุนการผลิตต่ําและผลผลิตมีคุณภาพดี ทั้งนี้เกษตรกรตองพิจารณา

                       แหลงรับซื้อรวมดวย
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40