Page 34 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               27








                             2) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู มีเนื้อที่ 189,080 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอเมืองเพชรบูรณ อําเภอหนองไผ
                       และอําเภอหลมสัก เกษตรกรยังคงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาโครงสรางของ

                       ดิน ในพื้นที่ดังกลาวควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการระบบน้ํา เชน ชลประทาน จะสรางความ
                       มั่นใจใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทํางานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขต

                       นี้มีความเหมาะสมสําหรับการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแมนยําหรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน
                       และภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น

                       ทั้งนี้หากขาวโพดเลี้ยงสัตวราคาไมดีและตองการปรับเลี่ยนการผลิตควรเปนพืชไร เพื่อในอนาคตยัง
                       สามารถกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดอีก

                                3) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบัน
                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา
                       ผลผลิตต่ํา ดังนั้นควรใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับโครงสรางที่ดิน

                       ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม และให
                       ผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการบริหารจัดการ

                       พื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว แตปจจุบัน

                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน  เชน ขาว ยางพารา เปนตน
                       ถาในอนาคตขาวโพดเลี้ยงสัตวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดเหมือนเดิม

                       แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจสงเสริม
                       ในเรื่องของการทําเกษตรรูปแบบอื่น เชน ทําการเกษตรแบบผสมผสาน แตทั้งนี้ตองพิจารณาตนทุนการผลิต
                       และการตลาดรวมดวย


                         4.4  มันสําปะหลัง
                             1) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกมันสําปะหลัง
                       อยู มีเนื้อที่ 34,969 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอวิเชียรบุรี อําเภอหนองไผ และอําเภอบึงสามพัน

                       ตามลําดับ ซึ่งตามมาตรการยุทธศาสตรมันสําปะหลัง 2564 -2567 เนนใหเกษตรกรเขาถึงพันธุมันสําปะหลัง
                       ตานทานโรคใบดาง (Cassava Mosaic Disease: CMD) ใหเชื้อแปงสูง และมีผลผลิตเฉลี่ยตอไรไมต่ํากวา

                       5 ตัน ภายในป 2567 นั้น โดยเนนการเพิ่มผลผลิตมันสําปะหลังและลดตนทุนการผลิตในพื้นที่ที่มี
                       ศักยภาพสูง ดังนั้นในพื้นที่ดังกลาวควรเรงหาแนวทางแกไขปญหาโรคโคนเนาหัวเนา และโรคใบดาง

                       มันสําปะหลัง อีกทั้งควรมีการสงเสริมการทําระบบน้ําหยดในพื้นที่ที่มีศักยภาพ มีการปรับปรุงบํารุง
                       ดิน การใสปุยที่ถูกตองและ มีประสิทธิภาพ ทําการวิเคราะหคุณภาพดินอยูเสมอ สงเสริมเกษตรกร

                       แปรรูปมันสําปะหลังเบื้องตนเพื่อเพิ่มมูลคา เชน การแปรรูปมันเสนสะอาด สรางความรวมมือระหวาง
                       เกษตรกรและโรงงาน เพื่อวางแผนการขุดของเกษตรกร ประชาสัมพันธใหเกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวง
                       อายุ และระยะเวลาที่เหมาะสม ใชทอนพันธุที่ตานทานโรค และใหผลผลิตสูง เขารวมโครงการะบบ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39