Page 31 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               24








                         3.5  ขาวโพดหวาน เปนขาวโพดที่นิยมปลูก และนํามารับประทานมากที่สุดในบรรดาขาวโพด
                       ชนิดตาง ๆ เนื่องจากใหความหวานสูง ไขมันต่ํา สามารถนํามาปรุงเปนอาหาร ของหวานหรือแปรรูปได
                       หลากหลายอยาง รวมถึงการนิยมรับประทานเปนอาหารโดยตรงดวยการตมหรือยาง
                              ประเทศไทยมีแหลงเพาะปลูกสําคัญ ไดแก ภาคเหนือ เชน จังหวัดเชียงใหม เชียงราย ลําพูน

                       ลําปาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน จังหวัดหนองคาย นครพนม ภาคกลาง เชน จังหวัดกาญจนบุรี
                       ราชบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี สวนภาคใต เชน จังหวัดชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช และสตูล
                       เปนตน

                         3.6 ขาวโพดฝกสด ประกอบดวย ขาวโพดหวาน (Sweet corn) ขาวโพดหวานพิเศษ  (Super
                       sweet corn) ขาวโพดฝกออน (Baby corn) ขาวโพดเทียน/ขาวโพดขาวเหนียว (Waxy corn)  และ

                       ขาวโพดคั่ว (Popcorn) ขาวโพดฝกสดเปนพืชที่คนไทยรูจักกันมานานแลว แมวาจะมีพื้นที่ปลูกไมมาก
                       เหมือนขาวโพดไร หรือขาวโพดเลี้ยงสัตว แตก็เปนที่ยอมรับของประชาชนและปลูกกันอยางแพรหลาย
                       แทบทุกจังหวัด  จนบางครั้งคนจะรูจักมากกวาขาวโพดไรเสียอีก  ขาวโพดฝกสดเปนพืชที่มีศักยภาพสูง

                       ปลูกงาย ใชระยะเวลาการผลิตสั้น (ประมาณ 65-75 วัน สําหรับขาวโพดหวาน และ 45-50 วัน สําหรับ
                       ขาวโพดฝกออน) มีความเสี่ยงต่ํา ในขั้นตอนการผลิตใชสารเคมีนอย   นอกจากนั้นยังเปนพืชที่เหมาะสม
                       สําหรับเกษตรกรในชนบท โดยเฉพาะในเขตที่มีน้ําชลประทาน ขาวโพดฝกสดที่สําคัญตอเศรษฐกิจของ
                       ประเทศไทย  คือ  ขาวโพดหวาน  และขาวโพดฝกออน  สําหรับขาวโพดเทียนและขาวโพดขาวเหนียว
                       สวนใหญจะปลูกเพื่อรับประทานภายในประเทศแตยังไมถึงขั้นเศรษฐกิจ


                         3.7  มะมวงน้ําดอกไม  ลักษณะมะมวงน้ําดอกไม  เปนผลไมยืนตนขนาดใหญ  เปนทรงพุมทึบ
                       ใบใหญยาวรี ดอกเปนชอมีสีขาวนวล มีกลิ่นหอม ผลมีลักษณะรูปทรงรี ผิวเปลือกบาง ผลออนมีสีเขียว
                       รสชาติเปรี้ยวมาก มียางสีขาว ผลสุกมีสีเหลือง เนื้อแนน นุมฉ่ําน้ํา มีเนื้อมาก มีรสชาติหวานฉ่ํา กลิ่น
                       หอม จะมีเมล็ดแข็งแบนบางรี สีขาวนวล อยูขางในเนื้อ มะมวงน้ําดอกไมปลูกกันมาก มีหลายสายพันธุ เชน
                       มะมวงน้ําดอกไมเบอร 4 มะมวงน้ําดอกไมสีทอง มะมวงน้ําดอกไมสีมวง มะมวงน้ําดอกไมมัน เปนตน


                         3.8 สมโอ สมโอเปนพืชตระกูลเดียวกับสมเขียวหวาน มะนาว มะกรูด และสมเชง ในประเทศไทย
                       ชวงแรก ๆ มีการปลูกบริเวณริมฝงแมน้ําเจาพระยา เขตพระนคร และฝงธนบุรี ตอมาจึงสงเสริมให
                       ปลูกมากขึ้นทั่วภาคกลาง เชน อําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ซึ่งสามารถพัฒนาสายพันธุไดมากมาย
                       และมีการสงเสริมการปลูกในภาคตาง ๆ ในเวลาตอมา เชน พันธุขาวแปน,พันธุขาวพวง เปนตน และ

                       ในปจจุบันจังหวัดที่ปลูกสมโอมาก ไดแก ชุมพร นครปฐม นครศรีธรรมราช เชียงใหม และเชียงราย
                       นอกจากนี้ประเทศไทยถือเปนแหลงพันธุสมโอที่มีมากที่สุดในโลก และมีพันธุที่ใหผลผลิต
                       ที่มีคุณภาพมากที่สุด รวมถึงสมโอยังเปนพืชเศรษฐกิจที่มีการสงออกที่มีมูลคามากติดอันดับตนๆ อีกดวย

                         3.9 พืชสมุนไพร ดวยนโยบายของรัฐบาลที่ใหการสนับสนุนแนวคิด BCG (Bio-Circular-Green
                       Economy) หรือ เศรษฐกิจชีวภาพ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ พืชสมุนไพรเปนเรื่องหนึ่งที่ไดรับ

                       ความสนใจ เนื่องจากเปนแหลงของสารสําคัญที่นําไปใชประโยชนในดานตาง ๆ เชน การแพทย ผลิตภัณฑ
                       เสริมอาหาร และเครื่องสําอาง จึงสนับสนุนใหพืชสมุนไพรเปนพืชทางเลือกในป 2564 โดยดําเนินการภายใต
                       ตลาดนําการผลิต และหากทิศทางของตลาดสมุนไพรขยายตัวเพิ่มมากขึ้นจะชวยใหเกษตรกรผูปลูกพืช
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36