Page 33 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               26








                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว แตปจจุบันเกษตรกรไมได
                       ใชพื้นที่ปลูกขาว โดยมาปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปนพืชไร เชน ออยโรงงาน มัน
                       สําปะหลัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว เปนตน ในอนาคตขาวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาวได

                       เหมือนเดิม แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจสงเสริม
                       ในเรื่องของการทําเกษตรรูปแบบอื่น เชน เกษตรผสมผสาน

                         4.2  ออยโรงงาน

                             1) พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกออยโรงงาน
                       อยู มีเนื้อที่ 753,879 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอวิเชียรบุรี อําเภอศรีเทพ และอําเภอบึงสามพัน

                       เกษตรกรยังคงปลูกออยโรงงานไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ําในบางชวงของการเพาะปลูก
                       ดังนั้นควรมีการพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ใหมากขึ้น ในเรื่องของคุณภาพดิน และ การบริหารจัดการน้ํา

                       ใหมีเพียงพอและเหมาะสมตอการเพาะปลูก สรางความรูความเขาใจใหกับเกษตรกรในการจัดการพื้นที่
                       การปลูก การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยว สงเสริมการเพิ่มมูลคาของเสียจากโรงงานน้ําตาล และ

                       การนําของเสียจากโรงงานน้ําตาลไปใชในการปรับปรุงบํารุงดินในไรออย เพื่อเพิ่มผลผลิตและ
                       ลดตนทุนใหแกเกษตรกรชาวไรออยโดยไมมีผลเสียตอสุขภาพ สิ่งแวดลอม และชุมชนชาวไรออย
                             2) พื้นที่ปลูกออยโรงงานในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกร

                       ยังคงใชที่ดินปลูกออยโรงงานอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา
                       ดังนั้นควรใหการชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิต

                       พืชผัก บริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการ ปรับเปลี่ยนการผลิต (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                       ทั้งนี้ควรจัดหาตลาดใหกับเกษตรกรในการปลูกพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน

                             3) พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกออยโรงงาน แตเกษตรกรหันมา
                       ปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว ปาลมน้ํามัน ยางพารา  ควรสรางความเขาใจใหกับเกษตรกรในการ

                       บริหารจัดการพื้นที่ และการปรับปรุงบํารุงดินไมใหเสื่อมโทรม

                          4.3  ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                             1) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว

                       อยู มีเนื้อที่ 1,042 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอชนแดน อําเภอวิเชียรบุรี และอําเภอหลมสัก
                       ตามลําดับ ทั้งนี้โดยคณะอนุกรรมพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนให
                       เปนแหลงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สําคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการระบบน้ํา การจัดการดิน

                       ปุย พันธุขาวขาวโพดเลี้ยงสัตว โดยรวมกลุมเปนระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ พัฒนาตอ
                       ยอดครบวงจรการตลาดในและตางประเทศ การแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํามาตรฐาน

                       สินคาเกษตรอินทรีย  การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) และเนื่องจาก
                       เปนพื้นที่ศักยภาพสูง ภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยน

                       ไปปลูกพืชชนิดอื่น หากราคาไมดีหรือประสบปญหาโรค แมลงรบกวน และเกษตรกรตองการเปลี่ยน
                       ชนิดพืชควรเปลี่ยนเปนพืชไร เพื่อที่วาในอนาคตจะไดกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดอีก
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38