Page 25 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               18








                       4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให
                       เกษตรกรปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวตอไป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิต
                       และไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการ

                       ตอยอดโครงการที่สําคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ
                       เกษตรแมนยํา เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวซึ่งควรสงวนไวเปน
                       แหลงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สําคัญของจังหวัด กระจายอยูในอําเภอชนแดน อําเภอวิเชียรบุรี และ
                       อําเภอบึงสามพัน
                                 พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว เชน
                       ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง ความชื้น กระจายอยูในอําเภอเมืองเพชรบูรณ
                       อําเภอหนองไผ และอําเภอหลมสัก
                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา

                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต  เชน  เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
                       มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                         2.4  มันสําปะหลัง
                             มันสําปะหลังพืชเปนเศรษฐกิจหลักของเพชรบูรณในลําดับที่ 4 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตร

                       เชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)
                                1) การวิเคราะหที่ศักยภาพของพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง
                                  ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 381,272 ไร คิดเปนรอยละ 8.50
                       ของเนื้อที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอวิเชียรบุรี 154,856 ไร อําเภอหนองไผ
                       77,743 ไร และอําเภอเมืองชนแดน 54,110 ไร

                                  ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,256,265 ไร คิดเปนรอยละ
                       28.00 ของเนื้อที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอวิเชียรบุรี 232,575 ไร อําเภอศรีเทพ
                       217,037 ไร และอําเภอเมืองเพชรบูรณ 189,990 ไร

                                  ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 811,639 ไร คิดเปนรอยละ
                       18.09 ของเนื้อที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอชนแดน 241,613 ไร อําเภอวิเชียรบุรี
                       125,032 ไร และอําเภอหนองไผ 105,600 ไร
                                    ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,038,289 ไร

                                2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของ
                       ที่ดินไดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 34,969 ไร คิดเปนรอยละ 9.17 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอวิเชียรบุรี 628 ไร อําเภอวิเชียรบุรี 19,088 ไร อําเภอหนองไผ 8,404 ไร

                       และอําเภอบึงสามพัน 3,951 ไร
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30